สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๘๓ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ พิจารณาของศาลและการบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษาของศาลเป็นไปโดยมีประสิทธิภาพ ตลอดจน เพิ่มเติมหลักเกณฑ์ให้จำเลยมีสิทธิจะขอให้ศาลสั่งให้โจทก์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการ ถูกบังคับโดยวิธีการชั่วคราว และการพิจารณาคำขอดังกล่าว เพื่อให้การคุ้มครองสิทธิของจำเล ย ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๓๙ ๓๙๐ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับี้ คือ เนื่องจากได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๘๗ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยกำหนดให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือ ตำรวจควบคุมตัวผู้ถูกจับในกรณีที่มีเหตุจำเป็นไว้ได้ไม่เกินสามวัน และแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๗ แห่ง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. ๒๔๙๙ โดยกำหนดให้ พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบส่งตัวผู้ต้องหาพร้อมด้วยสำนวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการ เพื่อให้พนักงานอัยการยื่นฟ้องต่อศาลแขวงให้ทันภายในกำหนดเวลาสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่เวลาที่ ผู้ต้องหาถูกจับ อันมีผลให้ศาลต้องเปิดทำการในวันหยุดงานหรือในเวลาใด ๆ นอกเวลาทำการปกติ สมควรกำหนดให้ผู้พิพากษาและเจ้าพนักงานศาลได้รับเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในวันหยุดราชการ หรือในเวลาใด ๆ นอกเวลาทำงานได้ตามระเบียบที่กระทรวงยุติธรรมกำหนด จึงจำเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓๙๑ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับได้เมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๑๗ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่ได้ยื่นฟ้องไว้แล้วก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และให้ใช้กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่ยื่นฟ้องนั้น บังคับแก่คดีดังกล่าว จนกว่าคดีจะถึงที่สุด มาตรา ๑๘ ให้รัฐมนตรีว่าการกระท วงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติในประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่ที่ใช้อยู่ยังไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ ปัจจุบัน ทำให้การพิจารณาคดีล่าช้า และคู่ความต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควรเมื่อคำนึงถึงทุนทรัพย์ ในคดีที่พิพาทกัน สมควรแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับวิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่ให้เหมาะสมขึ้น ๓๙๐ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๓/ตอนที่ ๖๑ ก/หน้า ๔/๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ๓๙๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๓๓ ก/หน้า ๑/๓ พฤษภาคม ๒๕๔๒
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3