สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๗๘ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ หรือเป็นคดีในศาล ให้นำเครดิตไปหักในการชำระภาษีมูลค่าเพิ่มในเดือนถัดจากเดือนที่ได้รับแจ้ง คำวินิจฉัยข้อโต้แย้งเป็นหนังสือหรือนับแต่เดือนที่มีคำพิพากษาถึงที่สุด แล้วแต่กรณี ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้รับเครดิตตามมาตรานี้จัดทำรายงานสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ตามแบบที่อธิบดีกำหนด และในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีสถานประกอบการหลายแห่งให้จัดทำรายงานเป็นรายสถานประกอบการ และเพื่อประโยชน์ในการ เก็บรักษาเอกสารให้ถือว่ารายงานสินค้าคงเหลือตามมาตรานี้เป็นรายงานตามมาตรา ๘๗ (๓) แห่ง ประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ เครดิตตามมาตรานี้ ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๓๙ หรือรายได้ตามมาตรา ๖๕ แห่งประมวลรัษฎากร ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติและในการวินิจฉัยตามมาตรานี้ ให้อธิบดีมีอำนาจ วินิจฉัยและคำวินิจฉัยของอธิบดีให้ถือเป็นที่สุด มาตรา ๑๙ ให้ผู้ผลิตซึ่งเป็นผู้ประกอบการค้าที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าตาม หมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากร ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งขาย สินค้าที่ตนผลิตให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๑๘ ในระหว่างวันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยได้มีการส่งมอบสินค้านั้นในระหว่าง เวลาดังกล่าว ต้องจัดทำและส่งมอบหนังสือรับรองตามวรรคสอง เพื่อเป็นหลักฐานการขายสินค้าให้แก่ ผู้ซื้อดังกล่าวในวันที่ส่งมอบสินค้า หนังสือรับรองการขายสินค้า ให้มีรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อ ที่อยู่ และเลขทะเบีย การค้าของผู้ผลิตที่ออกหนังสือรับรอง (๒) ชื่อและที่อยู่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ซื้อสินค้า (๓) เลขที่ของหนังสือรับรอง (๔) ชื่อ ชนิด ปริมาณของสินค้า และราคาสินค้าเป็นเงินตราไทย (๕) อัตราภาษีการค้าที่ผู้ผลิตมีหน้าที่ต้องเสีย (๖) วัน เดือน ปี ที่ออกหนังสือรับรอง ในกรณีที่ผู้ผลิตมีสถานการค้าหลายแห่ง ให้ออกหนังสือรับรองเป็นรายสถานการค้า ผู้ผลิตที่ออกหนังสือรับรองจะต้องจัดทำสำเนาหนังสือรับรองดังกล่าวและเก็บรักษา สำเนานั้นไว้ ณ สถานการค้าที่ออกเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่ออกหนังสือรับรอง ผู้ผลิตซึ่งเป็นผู้ประกอบการค้าผู้ใดไม่ออกหนังสือรับรองตา ที่ผู้ซื้อร้องขอหรือออก หนังสือรับรองแล้วไม่ส่งมอบให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ซื้อสินค้าตามวรรคหนึ่ง หรือไม่ จัดทำสำเนาหนังสือรับรองตามวรรคสี่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพัน บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ผลิตซึ่งเป็นผู้ประกอบการค้าที่ออกหนังสือรับรองตามวรรคหนึ่งผู้ใดจงใจไม่เก็บ รักษาสำเนาหนังสือรับรองตามวรรคสี่ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท มาตรา ๒๐ เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้กับผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขายส่งหรือขายปลีกสินค้าบางประเภทซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่าวมิได้เป็น ผู้ผลิต และมิใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งต้องเสียภาษีตามมาตรา ๘๒/๑๖ ซึ่งยั งมี

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3