สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๘๑ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ๒๕๓๖ ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติและการวินิจฉัยตามมาตรานี้ให้อธิบดีมีอำนาจวินิจฉัย และคำวินิจฉัยของอธิบดีให้ถือเป็นที่สุด มาตรา ๒๓ ในกรณีสินค้าตามประเภทที่ ๐๓.๐๑ ถึง ๐๓.๙๐ ประเภทที่ ๐๔.๐๑ ถึง ๐๔.๙๐ ประเภทที่ ๐๕.๐๑ ถึง ๐๕.๙๐ ประเภทที่ ๐๖.๐๑ ถึง ๐๖.๙๐ และประเภทที่ ๐๗.๐๑ ถึง ๐๗.๙๐ แห่งพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตท้ายพระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้นำออก จากโรงอุตสาหกรรมก่อนวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และยังมิได้เสียภาษีการค้าประเภทกา ขาย ของตามหมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากรก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งเป็นผู้ผลิติ ค้านั้นตามมาตรา ๗๗ แห่งประมวล รัษฎากร ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ และยังคงมีกรรมสิทธิ์ในสินค้านั้นอยู่ในวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าโดยให้ภาษีการค้ามีจำนวนเท่ากับภาษี สรรพสามิตตามมูลค่าตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีตามมาตรานี้ ให้ถือว่าความรับผิดในการเสียภาษี การค้าตามวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เว้นแต่สินค้าที่เป็นรถยนต์และสินค้าอื่น ที่เป็นประเภทที่อธิบดีกำหนด ก็ให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามมาตรา ๗๘ แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้ประกอบการจดทะเบีย ที่ต้องเสียภาษีตามวรรคหนึ่งยื่นแบบแสดงรายกา เสีย ภาษีตามแบบที่อธิบดีกำหนดพร้อมทั้งชำระภาษีภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ความรับผิด เกิดขึ้น และให้นำบทบัญญัติตามหมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากร ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๔ บทบัญญัติแห่งหมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากรก่อนการ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ยังคงใช้บังคับต่อไปแก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เฉพาะการขายสินค้าที่มีการขายเสร็จเด็ดขาดหรือการให้บริการที่สิ้นสุดลงก่อนวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ไม่ว่าผู้ประกอบการจดทะเบียนจะได้รับชำระค่าตอบแทนจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ นั้นในหรือหลังวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ความรับผิดของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็น ผู้ผลิตและผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ไม่เป็นผู้ผลิต เป็นไปตามหมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวล รัษฎากร ก่อน ารแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๕ การคืนภาษีการค้าตามหมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากร ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้กระทำได้ ดังต่อไปนี้ (๑) การคืนภาษีการค้าให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับคืนภาษีการค้าตามหมวด ๔ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากร ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์ และ เงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด แต่ผู้ที่ประสงค์จะได้รับคืนภาษีการค้าต้องยื่นคำร้องขอคืนต่อเจ้าพนักงาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3