สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๘๙ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ นุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่บทบัญญัติมาตรา ๔ มาตรา ๕ และมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้ บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๖ บทบัญญัติตามหมวด ๕ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากรก่อนการ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ยังคงใช้บังคับต่อไปสำหรับการจัดเก็บภาษีที่ค้างอยู่หรือที่ถึง กำหนดชำระก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มีความจำเป็นต้องปรับปรุง ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขการคืนภาษีมูลค่าเพิ่มให้ผู้เดินทางออกไปนอกราชอาณาจักรที่ซื้อสินค้าจากผู้ประกอบการจด ทะเบียน และโดยที่ในปัจจุบันการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะกรณีการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้า หรือหากำไรไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากกฎหมายปัจจุบันกำหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้อง ยื่นแบบแสดงรายการภาษี และชำระภาษีธุรกิจเฉพาะกรณีดังกล่าวในเดือนถัดไป ซึ่งปรากฏว่ามีการ หลีกเลี่ยงภาษีไม่ชำระภาษีเป็นจำนวนมาก ทำให้รัฐขาดรายได้ส่วนนี้ไป ดังนั้น สมควรปรับปรุง ประมวลรัษฎากร เพื่อให้การบริหารจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับกรณีนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เสียภาษีและป้องกันการหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ส่งผลทำให้ รัฐมีรายได้เพิ่มมากขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๕) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๕๘๘ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายว่าด้วยศุลกากรเพื่อกำหนดให้มีการจัดตั้งเขตปลอดอากรขึ้นเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการ ส่งออก โดยผู้ประกอบการในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีในทำนองเดียวกันกับเขต อุตสาหกรรมส่งออกตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แต่โดยที่บทบัญญัติ ของประมวลรัษฎากรได้กำหนดให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับเขตอุตสาหกรรมส่งออกเท่านั้น สมควรแ้ ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรเพื่อให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีครอบคลุมถึงเขตปลอดอากร และเขตที่มีกฎหมายกำหนดให้ยกเว้นอากรขาเข้าตามที่จะได้มีการจัดตั้งขึ้นต่อไปด้วย จึงจำเป็นต้อง ตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๖) พ.ศ. ๒๕๔๘ ๕๘๙ ๕๘๘ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๘/ตอนที่ ๘๕ ก/หน้า ๑/๒๗ กันยายน ๒๕๔๔ ๕๘๙ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนที่ ๔ ก/หน้า ๑๓/๑๓ มกราคม ๒๕๔๘
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3