สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๙๕ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ทางอาญาร่วมกับการกระทำความผิดของนิติบุคคล โดยไม่ปรากฏว่ามีการกระทำหรือเจตนาประการใด อันเกี่ยวกับการกระทำความผิดของนิติบุคคลนั้น ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง เป็นอันใช้บังคับไม่ได้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ และต่อมาศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยในลักษณะดังกล่าวทำนอง เดียวกัน คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๔ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๗๘ พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ มาตรา ๒๘/๔ และ พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๗๒/๕ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง เป็นอันใช้บังคับไม่ได้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ ดังนั้น เพื่อแก้ไขบทบัญญัติของก หมายดังกล่าวและกฎหมายอื่นที่มี บทบัญญัติในลักษณะเดียวกันมิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๕) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖๐๑ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากประเทศไทยในฐานะ สมาชิกผู้ร่วมก่อตั้ง Asia Pacific Group on Money Laundering (APG) มีเหตุผลความจำเป็นที่ จะต้องปฏิบัติตามข้อบังคับ (Terms of References) ที่กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องปฏิบัติตาม ข้อแนะนำของ Financial Action Task Force (FATF) ใน า ำหนดให้อาชญากรรมเกี่ยวกับภาษีอากร ที่มีลักษณะร้ายแรงเป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และเพื่อให้เป็นไปตามเหตุผลดังกล่าว อีกทั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปราบปรามการหลีกเลี่ยง และการฉ้อโกงภาษีอากร สมควรกำหนดให้การกระทำความผิดเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงหรือพยายาม หลีกเลี่ยงภาษีอากรและการฉ้อโกงภาษีอากรที่มีลักษณะเป็นอาชญากรรมร้ายแรงเป็นความผิดมูลฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๑ ๖๐๒ มาตรา ๒ พระราชกำหนดนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกำหนดฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันได้มีการถือหรือ ครอบครองโทเคนดิจิทัล หรือการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนคริปโทเคอร์เรนซีหรือโทเคนดิจิทัลซึ่งเงินได้ จากกรณีดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษี แต่โดยที่ยังไม่มีบทบัญญัติ แห่งกฎหมายเพื่อการจัดเก็บภาษีเงินได้จากคริปโทเคอร์เรนซีหรือโทเคนดิจิทัลเป็นการเฉพาะเป็นเหตุ ให้รัฐไม่สามารถจัดเก็บภาษีได้ครบถ้วน ดังนั้น เพื่อให้การจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในกรณี ๖๐๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔/ตอนที่ ๓๗ ก/หน้า ๑/๑ เมษายน ๒๕๖๐ ๖๐๒ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอน ๓๓ ก/หน้า ๗๑/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3