สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๐ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์หรือรองศาสตราจารย์พิเศษไม่น้อยกว่า สามปี (ช) ๒๑ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกด้านนิติศาสตร์สาขา กฎหมายมหาชน และรับราชการในหน่วยงานของรัฐหรือปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ องค์การ มหาชน หรือรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบปี นับแต่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือไม่น้อยกว่าหกปีนับแต่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก (ซ) เป็นหรือเคยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่น้อยกว่าสิบสองปี และมี ประสบการณ์ในคดีปกครองตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. ประกาศกำหนด ให้นำความในมาตรา ๑๔ และมาต า ๑๖ มาใช้บังคับแก่ตุลาการในศาลป ค อง ชั้นต้นโดยอนุโลม มาตรา ๑๙ ๒๒ ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ และมีความเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นตุลาการประจำศาลปกครองชั้นต้น โดยวิธีการสอบคัดเลือก การทดสอบความรู้ หรือการคัดเลือก ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ ก.ศป. กำหนดโดยความเห็นชอบของที่ ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การฝึกอบรมและการปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการประจำศาลปกครองชั้นต้นให้เป็นไป ตามระเบียบที่ ก.ศป. กำหนด ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการประจำศาลปกครองชั้นต้นซึ่งผ่านการฝึกอบรม ตามหลักสูตรที่ ก.ศป. กำหนด และผลการฝึกอบรมเป็นไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ว่าเป็นผู้มี ความซื่อสัตย์สุจริต ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ และความประพฤติเหมาะสมที่จะเป็น ตุลาการศาลปกครอง เพื่อแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น แล้วเสนอรายชื่อต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ตุลาการประจำศาลปกครองชั้นต้นผู้ใดไม่เหมาะสมที่จะเป็นตุลาการศาลปกครอง ชั้นต้น หรือผลการฝึกอบรมไม่เป็นไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดโดย ความเห็นชอบของ ก.ศป. มีอำนาจสั่งให้ออกจากราชการ หรือดำเนินการเพื่อให้มีการโอนไปเป็น ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองได้ ให้นำความในมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๖ มาใช้บังคับกับตุลาการประจำศาลปกครองชั้นต้นโดยอนุโลม มาตรา ๑๙/๑ ๒๓ การย้ายและการเลื่อนตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นให้ดำรง ต แหน่งอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลป ครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลป ค อง ๒๑ มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ช) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๒ มาตรา ๑๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี ปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๓ มาตรา ๑๙/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3