สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๓๔ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ (๔) มีคำสั่งเรียกให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีมาให้ถ้อยคำ หรือให้ส่งพยานหลักฐานมา ประกอบการพิจารณา (๕) ไต่สวนหรือมีคำสั่งในเรื่องใดที่มิใช่การวินิจฉัยชี้ขาดคดี ทั้งนี้ ตามที่กำหนดใน ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในกรณีจำเป็น ตุลาการศาลปกครองหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากตุลาการศาล ปกครองมีอำนาจไปตรวจสอบสถานที่ บุคคล หรือสิ่งอื่นใดเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได้ มาตรา ๖๒ ถ้าผู้ฟ้องคดีได้รับคำสั่งจากศาลปกครองให้มาให้ถ้อยคำหรือแสดง พยานหลักฐานแล้ว ไม่ด เนินการตามค สั่งนั้ ภายใน ะยะเวลาที่ศาลปกครองกำห ดโดยไม่มีเหตุผล อันสมควร ศาลปกครองจะสั่งให้จำหน่ายคดีเสียก็ได้ คดีที่ศาลปกค องได้สั่งจำหน่ายตามวรรคหึ่ ง ถ้าภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ศาล ปกครองมีคำสั่งให้จำหน่ายคดี ผู้ฟ้องคดีแสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลปกครองได้ว่าการที่ตนไม่สามารถ ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลปกครองได้นั้น เป็นเพราะเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุอันสมควร ศาลปกครองจะ อนุญาตให้พิจารณาใหม่หรือฟ้องคดีใหม่ก็ได้ มาตรา ๖๓ ตุลาการศาลปกครองในองค์คณะพิจารณาพิพากษาหรือผู้แถลง คดีปกครองอาจถูกคัดค้านได้ตามเหตุแห่งการคัดค้านผู้พิพากษาที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง รวมทั้งเหตุอื่นใดอันมีสภาพร้ายแรงซึ่งอาจทำให้การพิจารณาพิพากษาคดี เสียความยุติธรรม ารขอถอนตัวจากคดี ารยื่นคำคัดค้าน การพิจารณาคำคัดค้า การสั่งให้ผู้ถู คัดค้านงดการปฏิบัติหน้าที่ และการสั่งให้ผู้อื่นเข้าปฏิบัติหน้าที่แทน ให้เป็นไปตามที่กำหนดใน ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การสั่งให้ตุลาการศาลปกครองผู้ถูกคัดค้านงดการพิจารณาย่อมไม่กระทบกระเทือน ถึงการกระทำใด ๆ ของตุลาการศาลปกครองผู้ถูกคัดค้านที่ได้กระทำไปแล้ว มาตรา ๖๔ นอกจากที่บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ให้นำบทบัญญัติที่ถือว่า เป็นการกระทำละเมิดอำนาจศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม และเมื่อมีการละเมิดอำนาจศาลให้ศาลปกครองมีอำนาจสั่งลงโทษได้ดังนี้ (๑) ตักเตือน โดยจะมีคำตำหนิเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยหรือไม่ก็ได้ (๒) ไล่ออกจากบริเวณศาล (๓) ลงโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หื อปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้ จำทั้งปรับ การสั่งลงโทษฐานละเมิดอำนาจศาลพึงใช้อย่างระมัดระวังและเท่าที่จำเป็นตาม พฤติการณ์แห่งกรณี และหากเป็นการสั่งลงโทษตาม (๓) ให้องค์คณะอื่นที่มิใช่องค์คณะพิจารณา พิพากษาคดีนั้นเป็นผู้พิจารณาและสั่งลงโทษ มาตรา ๖๕ ผู้ใดวิจารณ์การพิจารณาหรือการพิพากษาคดีของศาลปกครองโดย สุจริตด้วยวิธีการทางวิชาการ ผู้นั้นไม่มีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล หรือดูหมิ่นศาลหรือตุลาการ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3