สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๒๑ - สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๙๓ ในกรณีที่กรรมการต้องรับผิดเพื่อความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้นแก่บริษัท ตามมาตรา ๙๑ (๖) ให้กรรมการดังกล่าวมีสิทธิเรียกเงินปันผลส่วนที่เกินคืนจากผู้ถือหุ้นซึ่งได้รับไป โดยทราบว่าเป็นการจ่ายโดยฝ่าฝืนมาตรา ๑๑๕ หรือการต้องรับผิดตามมาตรา ๑๑๘ ด้วย มาตรา ๙๔ กรรมการต้องรับผิดร่วมกันเพื่อความเสียหายใด ๆ อันเกิดขึ้นแก่ผู้ถือ หุ้นและบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกับบริษัทในกรณีดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทํา ความผิดนั้นด้วย (๑) การแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความอันควรต้องแจ้งเกี่ยวกับฐานะ การเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทในการเสนอขายหุ้น หุ้นกู้หรือตราสารการเงินของบริษัท (๒) การแสดงข้อความหรือลงรายการในเอกสารที่ยื่นต่อนายทะเบียน โดยข้อความ หรือรายการนั้นเป็นเท็จ หรือไม่ตรงกับบัญชี ทะเบียน หรือเอกสารของบริษัท (๓) การจัดทํางบดุลและบัญชีกําไรขาดทุน รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นหรือรายงาน การประชุมคณะกรรมการอันเป็นเท็จ มาตรา ๙๕ กรรมการคนใดกระทําการใดที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้อํานาจอนุมัติ หรือให้สัตยาบันแล้ว แม้ต่อมาจะมีการเพิก ถอนมตินั้น กรรมการคนนั้นไม่ต้องรับผิดในการกระทํานั้น ต่อบริษัท ผู้ถือหุ้นหรือเจ้าหนี้ของบริษัท มาตรา ๙๖ บริษัทต้องจัดให้มีทะเบียนกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และเก็บรักษาไว้ ณ สํานักงานใหญ่ของบริษัท แต่บริษัทจะมอบหมาย ให้บุคคลใดทําหน้าที่เ็ บรักษาเอกสารและทะเบียนดังกล่าวแท บริษัทไว้ ณ ที่ใดก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ นายทะเบียนทราบก่อนและต้องเก็บรักษาไว้ในท้องที่อันเป็นที่ตั้งสํานักงานใหญ่หรือจังหวัดใกล้เคียง ทะเบียนกรรมการนั้นอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อ วันเดือนปีเกิด สัญชาติ และที่อยู่ของกรรมการ (๒) ชนิด มูลค่า เลขที่ใบหุ้น และจํานวนหุ้นที่กรรมการแต่ละคนถือ (๓) วันเดือนปี ที่เป็นหรือขาดจากการเป็นกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นนั้น คณะกรรมการต้องจัดทํ ให้เสร็จภายในสิบสี่วันนับแต่วันประชุม มาตรา ๙๗ เว้นแต่จะมีบัญญัติไว้ในหมวดนี้เป็นอย่างอื่น ความเกี่ยวพันระหว่าง กรรมการกับบริษัทและบริษัทกับบุคคลภายนอก ให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่า ด้วยตัวแทน หมวด ๗ การประชุมผู้ถือหุ้น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3