สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๒๘ - สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๒๙ นายทะเบียนจะแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่คนหนึ่งหรือหลายคน เป็นผู้ตรวจสอบ เพื่อดําเนินการตรวจสอบบริษัทก็ได้เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่า (๑) บริษัทได้กระทําการเพื่อโกงเจ้าหนี้ของบริษัท หรือก่อหนี้โดยที่รู้อยู่ว่าไม่สามารถ จะชําระคืนได้ (๒) บริษัทฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือแจ้งข้อความที่เป็นเท็จใน การขอจดทะเบียนใ งบดุลหรือบัญชีกําไรขาดทุน หรือในรายงานที่ยื่นต่อนายทะเบียนหรือที่เปิดเผย แก่ประชาชนทั่วไป (๓) กรรมการหรือพนักงานชั้นบริหารของบริษัทดําเนินการผิดวัตถุประส งค์ของ บริษัทหรือกระทําการทุจริตต่อบริษัทหรือผู้ถือหุ้นของบริษัท (๔) มีการกระทําอันเป็นการทําให้ผู้ถือหุ้นฝ่ายข้างน้อยเสียเปรียบโดยไม่เป็นธรรม (๕) การบริหารกิจการของบริษัทอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ถือหุ้น ในคําสั่งแต่งตั้งผู้ตรวจสอบ นายทะเบียนต้องระบุประเด็ นที่จะให้ตรวจสอบโดยแจ้ง ชัดและมีหนังสือแจ้งให้บริษัททราบ มาตรา ๑๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ผู้ตรวจสอบมี อํานาจดังนี้ (๑) เข้าไปในสํานักงานและสถานที่ใด ๆ ของบริษัทระหว่างเวลาทําการของบริษัท (๒) สั่งกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ผู้ดํารงตําแหน่งหน้ าที่ใด ๆ ของบริษัทและ ตัวแทนของบริษัทและผู้สอบบัญชี รวมทั้งบุคคลซึ่งเคยดํารงตําแหน่งหรือมีหน้าที่ดังกล่าวและพ้นจาก ตําแหน่งหรือหน้าที่ั้ นไม่เกินหนึ่งปีม ให้ถ้อยคํา (๓) สั่งให้บุคคลตาม (๒) แสดงหรือส่งบัญชีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดําเนิน กิจการของบริษัทที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนเพื่อตรวจสอบ ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบพิจารณาเห็นว่า ในการตรวจสอบตามที่ได้รับแต่งตั้งนั้นมีความ จําเป็นต้องตรวจสอบบริษัทอื่น หรือบริษัทเอกชนตามมาตรา ๑๑๔ (๑) และ (๒) ด้วยเพราะมีกรณี เกี่ยวเนื่องกัน ผู้ตรวจสอบต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนก่อนจึ งจะมีอํานาจตรวจสอบ บริษัทนั้นเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวข้องนั้นได้ด้วย ในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้ผู้ตรวจสอบเป็น เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให้บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องช่วยเหลือและอํานวยความสะดวก ให้ตามสมควร มาตรา ๑๓๑ ผู้ตรวจสอบต้ องทํารายงานผลการตรวจสอบพร้อมด้วยความเห็น เสนอนายทะเบียนภายในสองเดือนนับแต่วันได้รับแต่งตั้ง ถ้าไม่สามารถกระทําการให้เสร็จภายใน กําหนดเวลาดังกล่าว ผู้ตรวจสอบต้องรายงานการตรวจสอบต่อนายทะเบียนทุกสองเดือน มาตรา ๑๓๒ เมื่อนายทะเบียนได้รับรายงานผลการตรวจสอบจากผู้ตร วจสอบแล้ว ให้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (๑) ส่งสําเนารายงานนั้นไปยังบริษัทภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3