สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๓๒ - สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รับคําเสนอขอซื้อให้บริษัทดําเนินการควบบริษัทต่อไปได้ และให้ถือว่าผู้ ถือหุ้นดังกล่าวนั้นเป็นผู้ถือหุ้น ของบริษัทที่ควบกันแล้ว มาตรา ๑๔๗ บริษัทต้องมีหนังสือแจ้งมติการที่จะควบกันกับบริษัทอื่นไปยังเจ้าหนี้ ของบริษัท และให้นํามาตรา ๑๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ม ตร ๑๔๘ เื่ อได้ดําเนินการตามมาตรา ๑๔๗ แล้ว ให้ประธานกรรมการของ บริษัทที่จะควบกันเรียกประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทนั้น ๆ ให้มาประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) จัดสรรหุ้นของบริษัทที่ควบกันให้แก่ผู้ถือหุ้น (๒) ชื่อของบริษัทที่ควบกัน โดยจะใช้ชื่อใหม่หรือจะใช้ชื่อเดิมของบริษัทใดบริษัท หนึ่งที่จะควบกันก็ได้ (๓) วัตถุประสงค์ของบริษัทที่ควบกัน (๔) ทุนของบริษัทที่ควบกัน โดยจะต้องมีทุนไม่น้อยกว่าทุนชําระแล้วของบริษัทที่จะ ควบกันทั้งหมดรวมกัน และถ้าบริษัทที่จะควบกันได้นําหุ้นออกจําหน่ายครบตามจํานวนที่จดทะเบียน ไว้แล้วจะเพิ่มทุนในคราวเดียวกันนี้ก็ได้ (๕) หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทที่ควบกัน (๖) ข้อบังคับของบริษัทที่ควบกัน (๗) เลือกตั้งกรรมการบริษัทที่ควบกัน (๘) เลือกตั้งผู้สอบบัญชีบริษัทที่ควบกัน (๙) เรื่องอื่น ๆ ที่จําเป็นในการควบบริษัท (ถ้ามี) ทั้งนี้ ต้องดําเนินการประชุมให้เสร็จสิ้นภายในหกเดือนนับแต่วันที่บริษัทใดบริษัท หนึ่งได้ลง มติให้ควบกันเป็นรายหลังสุด เว้นแต่ที่ประชุมตามมาตรานี้ลงมติให้ขยายเวลาออกไป แต่ เมื่อรวมเวลาทั้งหมดแล้วต้องไม่เกินหนึ่งปี มาตรา ๑๔๙ ในการประชุมเพื่อพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ร่วมกันตามมาตรา ๑๔๘ ให้ นําบทบัญญัติว่าด้วยการนั้น ๆ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่ที่บัญญัติไว้ดังต่อไปนี้ (๑) สถานที่ที่จะใช้เป็นที่ประชุมต้องอยู่ในท้องที่อั เป็นที่ตั้งสํานั งานใหญ่ หรือ จังหวัดใกล้เคียงของบริษัทใดบริษัทหนึ่งที่จะควบกัน (๒) ต้องมีผู้ถือหุ้นซึ่งมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนหุ้นที่จําหน่าย ได้ทั้งหมดของบริษัทที่จะควบกันมาประชุม จึงจะเป็นองค์ประชุม (๓) ให้ผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมเลือกผู้ถือหุ้นคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม (๔) การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมตาม (๒) ม ตร ๑๕๐ คณะกรรมการบริษัทเดิมต้องส่งมอบกิจกา ทรัพย์สิน บัญชี เอกสาร และหลักฐานต่าง ๆ ของบริษัทให้แก่คณะกรรมการบริษัทที่ควบกันแล้วภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่เสร็จ สิ้นการประชุมตามมาตรา ๑๔๘
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3