สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๔ - สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๒ การเริ่มจัดตั้งบริษัท มาตรา ๑๕ บริษัทมหาชนจํากัด คือ บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ที่จะ เสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยผู้ถือหุ้นมีคว ามรับผิดจํากัดไม่เกินจํานวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชําระและ บริษัทดังกล่าวได้ระบุความปร สงค์เช่นนั้นไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ มาตรา ๑๖ บุคคลธรรมดาตั้งแต่สิบห้าคนขึ้นไปจะเริ่มจัดตั้งบริษัทได้โดยจัดทํา หนังสือบริคณห์สนธิ และปฏิบัติการอย่างอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๗ ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทต้อง (๑) บรรลุนิติภาวะแล้ว (๒) มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรเป็นจํานวนไม่้ อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนผู้เริ่มจัดตั้ง ทั้งหมด (๓) จองหุ้น และหุ้นที่จองทั้งหมดนั้นต้องเป็นหุ้นที่ชําระค่าหุ้นเป็นตัวเงินรวมกันไม่ น้อยกว่าร้อยละห้าของทุนจดทะเบียน (๔) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ หรือไม่เป็นหรือเคย เป็นบุคคลล้มละลาย และ (๕) ไม่เคยรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่ ได้กระทําโดยทุจริต มาตรา ๑๘ หนังสือบริคณห์สนธิอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อบริษัทตามมาตรา ๑๑ (๑) (๒) ความประสงค์ของบริษัทที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน (๓) วัตถุประสงค์ของบริษัทซึ่งต้องระบุประเภทของธุรกิจโดยชัดแจ้ง (๔) ทุนจดทะเบียนซึ่งต้องแสดงชนิด จํานวน และมูลค่าของหุ้น (๕) ที่ตั้งสํานั งานใหญ่ซึ่งต้องระบุว่าจะตั้งอยู่ ณ ท้องที่ใดในราชอาณาจักร (๖) ชื่อ วันเดือนปีเกิด สัญชาติ และที่อยู่ของผู้เริ่มจัดตั้งบริษัท และจํานวนหุ้นที่แต่ ละคนจองไว้ ชื่อบริษัทต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๙ หนังสือบริคณห์สนธินั้น ให้ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัททุกคนลงลายมือชื่อและ นําไปขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ก รแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิที่นายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้วก่อนการขอ จดทะเบียนเป็นบริษัท จะกระทําได้ก็แต่โดยได้รับความยินยอมจากผู้เริ่มจัดตั้งบริษัททุกคนและนําไป ขอจดทะเบียนการแก้ไขเพิ่มเติมต่อนายทะเบียน แต่ทั้งนี้จะต้องกระทําก่อนเสนอขายหุ้นต่อประชาชน หรือบุคคลใด ๆ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3