สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๓ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ส่วนราชการตาม (๒) และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นตาม (๓) มีฐานะเป็น กรม ในกรณีที่สํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัด และปริมาณ และ คุณภาพของราชการในทบวงยังไม่สมควรจัดตั้งสํานักงานปลัดทบวง จะให้สํานักงานปลัดสํานัก นายกรัฐมนตรีหรือสํานักงานปลัดกระทรวงทําหน้าที่สํานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้ [คําว่า “สํานักงานรัฐมนตรี” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕] มาตรา ๒๖ การจัดระเบียบราชกา ในทบวงหนึ่ง ๆ ให้เป็นไปตาม ฎหมายว่าด้วย การปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ส่วนการจัดระเบียบราชการในทบวงมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น ทบวงมีอํานาจหน้าที่ตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม มาตรา ๒๗ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ทบวงหนึ่งมีรัฐมนตรีว่าการทบวง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และกําหนดนโยบายของทบวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรี กําหนดหรืออนุมัติ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวง และจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการ ทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วย ว่ การทบวงให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการทบวงมอบห าย ในกรณีที่เป็นทบวงสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้รัฐมนตรีว่าการทบวง ปฏิบัติราชการภายใต้การกํากับของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แล้วแต่กรณี มาตรา ๒๘ ทบวง นอกจากมีรัฐมนตรีว่าการทบวงและรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง ให้มีปลัดทบวงคนหนึ่งมีอํานาจหน้าที่ดังนี้ (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจําในทบวง กําหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติ ราชการของทบวง และลําดับความสําคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจําปีของส่วนราชการใน ทบวงให้เป็นไปตามนโยบายที่รัฐมนตรีกําหนด รวมทั้งกํากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการในทบวง (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในทบวงรองจากรัฐมนตรี (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสํานักงานปลัดทบวงและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการของสํานักงานปลัดทบวง ในการปฏิบัติราชการของปลัดทบวงตามวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่ง และปฏิบัติราชการ และจะให้มีผู้ช่วยปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ในกรณีที่มีรองปลัดทบวงหรือผู้ช่วยปลัดทบวง หรือมีทั้งรองปลัดทบวงและผู้ช่วย ปลัดทบวง ให้รองปลัดทบวงหรือผู้ช่วยปลัดทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการรองจากปลัดทบวง

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3