สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๔ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้รองปลัดทบวง ผู้ช่วยปลัดทบวง และผู้ดํารงตําแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นใน สํานักงานปลัดทบวง มีอํานาจหน้าที่ตามที่ปลัดทบวงกําหนดหรือมอบหมาย ในกรณีที่ปลัดทบวงจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งนั้น หรือมติของ คณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้กล่าวถึงอํานาจของปลัดทบวงไว้ให้ปลัดทบวงมีอํานาจดังเช่น ปลัดกระทรวง ในกรณีที่ให้สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือสํานักงานปลัดกระทรวงทํา หน้าที่สํานักงานปลัดทบวง ให้ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงทําหน้าที่ปลัดทบวง มาตรา ๒๙ สํานักงานรัฐมนตรีมีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มี เลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการของสํานักงานรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการทบวง และจัดให้มีผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรี ซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทน เลขานุการรัฐมนตรีก็ได้ [คําว่า “สํานักงานรัฐมนตรี” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕] มาตรา ๓๐ สํานั งานปลัดทบวงมีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจําทั่วไปของ ทบวง และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กําหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดทบวง โดยเฉพาะ วมทั้งกํากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชกา ของส่วนราช ารในทบวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของทบวง หมวด ๔ การจัดระเบียบราชการในกรม มาตรา ๓๑ กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง อาจแบ่งส่วนราชการดังนี้ (๑) สํั กงานเลขานุการกรม (๒) กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง เว้นแต่บางกรมเห็นว่าไม่มีความจําเป็น จะไม่แย ส่วนร ชการตั้งขึ้นเป็นกองก็ได้ กรมใดมีความจําเป็น จะแบ่งส่วนราชการโดยให้มีส่วนราชการอื่นนอกจาก (๑) หรือ (๒) ก็ได้ สําหรับสํานักงานตํารวจแห่งชาติจะแบ่งส่วนราชการให้เหมาะสมกับราชการของ ตํารวจก็ได้ ๒๘ ๒๘ มาตรา ๓๑ วรรคสามแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับ ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3