สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๗ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การมอบอํานาจให้ทําเป็นหนังสือ มาตรา ๓๙ ๓๒ เมื่อมีการมอบอํานาจแล้ว ผู้รับมอบอํานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบ อํานาจนั้น โดยผู้มอบอํานาจจะกําหนดให้ผู้รับมอบอํานาจมอบอํานาจให้ผู้ดํารงตําแหน่งอื่นปฏิบัติ ราชการแทนต่อไป โดยจะกําหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการใช้อํานาจนั้นไว้ด้วยหรือไม่ก็ได้ แต่ใน กรณีการมอบอํานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะรัฐมนตรีจะกําหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ต้องมอบอํานาจต่อไปให้รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัดหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องใน จังหวัดก็ได้ มาตรา ๔๐ ๓๓ ในการมอบอํานาจ ให้ผู้มอบอํานาจพิจารณาถึงการอํานวยความ สะดวกแก่ประชาช ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของ ตําแหน่งของผู้รับมอบอํานาจ และผู้รับมอบอํานาจต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบอํานาจตาม วัตถุประสงค์ของการมอบอํานาจดังกล่าว เมื่อได้มอบอํานาจแล้ว ผู้มอบอํานาจมีหน้าที่กํากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติ ราชการของผู้รับมอบอํานาจ และให้มีอํานาจแนะนําหรือแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอํานาจ ได้ มาตรา ๔๐/๑ ๓๔ ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการภายในกรม ถ้าการปฏิบัติ ราชการใดของส่วนราชการนั้นมีลักษณะเป็นงานการให้บริการหรือมีการให้บริการเกี่ยวเนื่องอยู่ด้วย และหากแยกกา บริหารออกเป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษจะบรรลุเป้าหมายตามมาตรา ๓/๑ ยิ่งขึ้น ส่วนราชการดังกล่าวโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจะแยกการปฏิบัติราชการในเรื่องนั้น ไป จัดตั้งเป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ซึ่งมิใช่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจแต่อยู่ในกํากับของส่วน ราชการดังกล่าวก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยให้กําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ การจัดตั้ง การมอบอํานาจให้ปฏิบัติราชการแทน วิธีการบริหารงาน การดําเนินการด้านทรัพย์สิน การ กํากับดูแลสิทธิประโยชน์ของบุคลากรและการยุบเลิกไว้ด้วย ให้หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ มีหน้าที่ปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการตามภารกิจที่ จัดตั้งหน่วยบริการรูปแบบพิเศษนั้นเป็นหลัก และสนับสนุนภารกิจอื่นของส่วนราชการดังกล่าวตามที่ ได้รับมอบหมาย และอาจให้บิ การแก่ส่วนราชการอื่น หน่วยงานของั ฐหรือเอกชน แต่ต้องไม่ กระทบกระเทือนต่อภารกิจอันเป็นวัตถุประสงค์แห่งการจัดตั้ง ให้รายได้ของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษเป็นรายได้ที่ไม่ต้องนํา่ งคลังตามกฎหมาย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง ๓๒ มาตรา ๓๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๓ มาตรา ๔๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๔ มาตรา ๔๐/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3