สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๒๗ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) อํานาจและหน้าที่ตามที่กําหนดในมาตรา ๕๒/๑ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) โดยให้นําความในมาตรา ๕๒/๑ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม (๒) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐใน ลักษณะศูนย์บริการร่วม (๓) ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อร่วมมือกับชุมชนในการ ดําเนินการให้มีแผนชุมชน เพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และกระทรวง ทบวง กรม (๔) ไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทเพื่อให้เกิดความสงบ เรียบร้อยในสังคมตามมาตรา ๖๑/๒ และมาตรา ๖๑/๓ มาตรา ๖๑/๒ ๕๓ ในอําเภอหนึ่ง ให้มีคณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอม ข้อพิพาทของประชาชนที่คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตอําเภอ ในเรื่องที่พิพาททางแพ่ง เกี่ยวกับที่ดิน มรดก และข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกินสองแสนบาท หรือมากกว่านั้น ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา ให้นายอําเภอโดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัดจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลที่ จะทําหน้าที่เป็นคณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มี ความรู้หรือมีประสบการณ์เหมาะสมกับการทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นและคู่พิพาทตกลงยินยอมให้ใช้วิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้ คู่พิพาทแต่ละฝ่ายเลือกบุคคลจากบัญชีรายชื่อตามวรรคสองฝ่ายละหนึ่งคน และให้นายอําเภอ พนักงานอัยการประจําจังหวัดหรือปลัดอําเภอที่ได้รับ อบหมายคนหนึ่งเป็นประธาน เพื่อทําหน้าที่ เป็นคณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ให้คณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทมีอํานาจหน้าที่รับฟังข้อ พิพาทโดยตรงจากคู่พิพาท และดําเนินการไกล่เกลี่ยให้เกิดข้อตกลงยินยอมร่วมกันระหว่างคู่พิพาท โดยเร็ว ถ้าคู่พิพาททั้งสองฝ่ายตกลงกันได้ ให้คณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท จัดให้มีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างคู่พิพาท และให้ถือเอาข้อตกลงตามสัญญา ประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคู่พิพาททั้งสองฝ่าย ในกรณีที่คู่พิพาทไม่อาจตกลงกันได้ ให้คณะ บุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทสั่งจําหน่ายข้อพิพาทนั้น ข้อตกลงตามวรรคสี่ให้มีผลเช่นเดียวกับคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมาย ว่าด้วยอนุญาโตตุล การ หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทําบัญชี การดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการจัดทํา สัญญาประนีประนอมยอมความ ตลอดจนค่าตอบแทนของคณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและ ประนอมข้อพิพาท ให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ในกรณีที่คู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความให้ คู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่งยื่นคําร้องต่อพนักงานอัยการ และให้พนักงานอัยการดําเนินการยื่นคําร้องต่อศาล ที่มีเขตอํานาจเพื่อให้ออกคําบังคับให้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวโดยให้นํากฎหมาย ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการมาใช้บังคับโดยอนุโลม ๕๓ มาตรา ๖๑/๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3