สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๒๘ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เมื่อคณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทได้รับข้อพิพาทไว้ พิจารณา ให้อายุความในการฟ้องร้องคดีสะดุดหยุดลง นับแต่วันที่ยื่นข้อพิพาทจนถึงวันที่คณะบุคคล ผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทสั่งจําหน่ายข้อพิพาทหรือวันที่คู่พิพาททําสัญญา ประนีประนอมยอมความกัน แล้วแต่กรณี ความในมาตรานี้ให้ใช้กับเขตของกรุงเทพมหานครด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๖๑/๓ ๕๔ บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอําเภอใดหากเป็น ความผิดอันยอมความได้ และมิใช่เป็นความผิดเกี่ยวกับเพศ ถ้าผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอม หรือแสดงความจํานง ให้นายอําเภอของอําเภอนั้นหรือปลัดอําเภอที่นายอําเภอดังกล่าวมอบหมายเป็น ผู้ไกล่เกลี่ยตามควรแก่กรณี และเมื่อผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอมเป็นหนังสือตามที่ไกล่เกลี่ย และปฏิบัติตามคําไกล่เกลี่ยดัง ล่าวแล้ว ให้คดีอาญาเป็นอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ในกรณีที่ผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหาไม่ยินยอมตามที่ไกล่เกลี่ย ให้จําหน่ายข้อพิพาท นั้น แต่เพื่อประโยชน์ในการที่ผู้เสียหายจะไปดําเนินคดีต่อไป อายุความการร้องทุกข์ตามประมวล กฎหมายอาญาให้เริ่มนับแต่วันที่จําหน่ายข้อพิพาท หลักเกณฑ์และวิธีในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง มาตรา ๖๒ ในอําเภอหนึ่ง มีนายอําเภอคนหนึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชา บรรดาข้า าช ในอําเภอ และรับผิดชอบงา บริหา าชการของอําเภอ นายอําเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย บรรดาอํานาจและหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกรมการอําเภอหรือนายอําเภอซึ่ง กฎหมายกําหนดให้กรมการอําเภอและนายอําเภอมีอยู่ให้โอนไปเป็นอํานาจและหน้าที่ของนายอําเภอ มาตรา ๖๓ ในอําเภอหนึ่ง นอกจากจะมีนายอําเภอเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาและ รับผิดชอบดังกล่าวในมาตรา ๖๒ ให้มีปลัดอําเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจําอําเภอซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ส่งมาประจําให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือนายอําเภอ และมีอํานาจบังคับบัญชา ข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาคซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ในอําเภอนั้น มาตรา ๖๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งนายอําเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง ปลัดอําเภอ หรือหัวหน้าส่วนราชการประจําอําเภอผู้มีอาวุโสตามระเบียบแบบแผ ของทางราชการ เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีผู้ดํารงตําแหน่งนายอําเภอ แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้นายอําเภอแต่งตั้ง ปลัดอําเภอ หรือหัวหน้าส่วนราชการประจําอําเภอผู้มีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ เป็นผู้รักษาราชการแทน ๕๔ มาตรา ๖๑/๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3