สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๓๓ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การ รวม การโอน การยุบเลิก การกําหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกําหนดอํานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วน ราชการภายในของส่วนราชการที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น (๕) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตาม พระราชบัญญัตินี้ (๖) ดําเนินการให้มีการชี้แจงทําความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป รวมตลอดทั้งการฝึกอบรม (๗) ติดตาม ประเมินผล และแนะนําเพื่อให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ และ รายงานต่อคณะั ฐมนตรีพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ (๘) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ หรือ กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกําหนดแนวทางปฏิบัติ ในกรณีที่เป็น ปัญหา มติของคณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้บังคับได้ ตามกฎหมาย (๙) เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการ พิจารณา (๑๐) จัดทํารายงานประจําปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐ อย่างอื่นเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (๑๑) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่าง ๆ ตามที่มอบหมาย และจะกําหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนอื่นด้วยก็ได้ (๑๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย บทเฉพาะกาล มาตรา ๗๒ คําว่า “ทบวงการ เมือง” ตามกฎหมายอื่นที่มีอยู่ก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้หมายความถึงกระทรวง ทบวง กรม ตามพระราชบัญญัตินี้แล้วแต่กรณี มาตร ๗๓ พ ะราชี กา และประกาศขอ คณะปฏิวัติเี่ ยวกับการจัดระเบียบ ราชการในสํานักงานรัฐมนตรี สํานักงานปลัดกระทรวงหรือทบวง กรม และส่วนราชการที่เรียกชื่อ อย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากรมหรือมีฐานะเป็ กรมที่ได้ตราหรือประกาศโดยอาศัยอํานาจกฎหมายว่า ด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คงใช้บังคับได้ ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดระเบียบ ราชการตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับแทน [คําว่า “สํานักงานรัฐมนตรี” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕]
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3