สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๓๖ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๕ พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในส่วนราชการตามมาตรา ๘ วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่ พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้คงใช้บังคับได้ต่อไป จนกว่าจะมีกฎกระทรวงว่าด้วย การแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๘ ฉ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย มาตรา ๒๓๐ ได้บัญญัติให้การรวมหรือโอนกระท วง ทบวง กรม ที่ไม่มีการกําหนดตําแหน่งหรือ อัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นหรือการยุบเลิกส่วนราชการดังกล่าว สามารถทําได้โดยตราเป็น พระราชกฤษฎีกา ดังนั้ สมควรกําหนดลักษณะของกรณีที่สามารถตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและ วิธีการดําเนินการของแต่ละกรณี และรูปแบบของพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว รวมทั้งปรับปรุง หลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสํานักงานรัฐมนตรีและส่วนราชการระดับกรม ทั้งนี้ เพื่อให้ สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๗๐ มาตรา ๑๖ ในวาระเริ่มแรก ให้ ก.พ.ร. ดําเนิ การเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีการปรับปรุงโครงสร้าง ระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร การปรับเปลี่ยนส่วน ร ชการเป็นองค์ ารมห ชน หรือองค์กรรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ เพื่อให้ก รบริหารราชการ แผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ ภายในสองปีนับ แต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๑๗ ให้แก้ไขคําว่า “สํานักงานเลขานุการรัฐมนตรี” ในพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นคําว่า “สํานักงานรัฐมนตรี” ทุก แห่ง มาตรา ๑๘ ให้ดําเนินการแต่งตั้ง ก.พ.ร. ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้โอนงบประมาณและบุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ต มที่นายกรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา ไปเป็นของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ ให้อํานาจหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนตามมาตรา ๘ ทวิ และตามมาตรา ๘ สัตต ในส่วนที่เกี่ยวกับการแบ่งส่วนราชการและการกําหนดอํานาจหน้าที่ของส่วน ราชการซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นอํานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร. ๖๙ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๗/ตอนที่ ๓๗ ก/หน้า ๒๒/๒๘ เมษายน ๒๕๔๓ ๗๐ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนที่ ๙๙ ก/หน้า ๑/๒ ตุลาคม ๒๕๔๕
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3