สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๓๗ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน คงมีอํานาจหน้าที่เท่าที่ไม่ซ้ํากับอํานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร. ให้ดําเนินการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและกฎหมายว่า ด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อกําหนดภารกิจของ ก.พ.ร. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้ เหมาะสม ซึ่งต้องทําให้แล้วเสร็จและเสนอสภาผู้แทนราษฎรภายในสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ มาตรา ๑๙ ให้บทบัญญัติมาตรา ๑๕ แห่งพระร ชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ คงใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการ แก้ไขเพิ่มเติม ให้นํากรณีที่ส่วนราชการใดขึ้นตรงต่อนายกรัฐม ตรีไปบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระบบ บริหารราชการเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการแก่ ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโดยกําหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการ กําหนดนโยบาย เป้าหมาย และแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ ละระดับได้อย่างชัดเจน มีกรอบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการกํากับการกําหนด นโยบายและการปฏิบัติราชการ และเพื่อให้กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไปตาม เป้าหมายได้ จึงกําหนดให้มีรูปแบบการบริห รใหม่ โดย ระทรวงส มารถแยกส่วนราชการจัดตั้งเป็น หน่วยงานตามภาระหน้าที่ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและสอดคล้องกับเป้าหมายของงานที่จะต้อง ปฏิบัติ และกําหนดให้มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีงานสัมพันธ์กัน เพื่อที่จะสามารถ กําหนดเป้าหมายการทํางานร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกํากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจนั้น โดยตรงเพื่อให้งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพื่อที่จะให้การบริหารงานของทุกส่วนราชการบรรลุเป้าหมายของกระทรวงได้ อย่างมีประสิทธิภาพและลดความซ้ําซ้อน มีการมอบหมายงานเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ และ สมควรกําหนดการบริหารราชการในต่างประเทศให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าที่และ สามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็วและมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการ บริหารราชการ นอกจากนี้ สมควรให้มีคณะกรรมการพัฒ าระบบราชการเพื่อเป็นหน่วยงานที่ รับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและการปรับปรุงระบบการทํางานของภาคราชการให้มีการ จัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗๑ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันได้มีการโอนกรม ตํารวจไปจัดตั้งเป็นสํานักงานตํารวจแห่งชาติและกําหนดให้ผู้บังคับการตํารวจภูธรจังหวัดทําหน้าที่ ๗๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐/ตอนที่ ๑๐๘ ก/หน้า ๑/๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3