สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๒ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และ ให้มีอำนาจแต่งตั้งและถอดถอนเจ้าพนักงาน ออกกฎกระทรวง และจัดวางระเบียบข้อบังคับทางธุรการ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๖ ในพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ข้อความจะแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ “เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์” หมายความตลอดถึงบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ปฏิบัติการแทน “เจ้าพั กงานบังคับคดี” หมายความถึงเจ้าพั กงานบังคับคดีตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง “เจ้าหนี้มีประกัน” ๒ หมายความว่า เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทาง จำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ รวมถึง เจ้าหนี้ที่กฎหมายอื่นให้ถือว่าเป็นเจ้าหนี้มีประกัน “กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย” หมายความว่า กระบวนพิจารณาซึ่งบัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะกระทำต่อศาลหรือต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตั้งแต่เริ่มคดีจนถึงคดีสิ้นสุด “พิพากษา” หมายความตลอดถึงการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดคดีโดยทำเป็นคำสั่ง “พิทักษ์ทรัพย์” หมายความว่า พิทักษ์ทรัพย์สินไม่ว่าเด็ดขาดหรือชั่วคราว “มติ” หมายความว่า มติของเจ้าหนี้ฝ่ายที่มีจำนวนหนี้ข้างมาก ซึ่งได้เข้าประชุมด้วย ตนเองหรือมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุมแทนในที่ประชุมเจ้าหนี้และได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินั้น “มติพิเศษ” หมายความว่า มติของเจ้าหนี้ฝ่ายข้างมากและมีจำนวนหนี้เท่ากับสาม ในสี่แห่งจำนวนหนี้ทั้งหมดของเจ้าหนี้ซึ่งได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุม แทนในที่ประชุมเจ้าหนี้ และได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินั้น “บุคคลภายในของลูกหนี้” ๓ หมายความว่า (๑) กรรมการ ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิด บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินกิจการ หรือผู้สอบบัญชีของลูกหนี้ (๒) ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นเกินจำนวนร้อยละห้าของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด ของกิจการของลูกหี้ (๓) ๔ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของลูกหนี้หรือของบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) (๔) ห้างหุ้นส่วนสามัญที่ลูกหี้ หรือบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) หรือ (๓) เป็นหุ้นส่วน ๒ มาตรา ๖ นิยามคำว่า “ เจ้าหนี้มีประกัน ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓ มาตรา ๖ นิยามคำว่า “บุคคลภายในของลูกหนี้” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒ ๔ มาตรา ๖ นิยามคำว่า “บุคคลภายในของลูกหนี้” (๓) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3