สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๘๕ - สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ มาตรา ๓๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ว่าด้วยล้มละลายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันซึ่งกำหนดจำนวนเงินที่เจ้าหนี้มีสิทธิจะฟ้องลูกหนี้ให้ ล้มละลายได้ รวมทั้งจำนวนเงินที่ต้องวางประกันค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในขั้นตอนต่าง ๆ และ ราคาของทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาแบ่งให้แก่เจ้าหนี้ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว ไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบันสมควรแก้ไขให้เหมาะสม รวมทั้งบทบัญญัติของ กฎหมายดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาแบ่งให้แก่เจ้าหนี้ และมาต การ ในการรวบรวมและจำหน่ายทรัพย์สินที่กำหนดไว้ยังไม่ครอบคลุมถึงสามีของลูกหนี้ นอกจากนี้ บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้และ กระบวนการล้มละลายบางประการยังไม่เอื้ออำนวยต่อการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจ จึงสมควร แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยกระบวนการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับการลงมติยอมรับ แผนฟื้นฟูกิจการ การใช้ดุลพินิจของศาลในการเห็นชอบด้วยแผน อำนาจของผู้บริหารแผนเกี่ยวกับ การจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ การปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับการเพิกถอนนิติกรรมที่ได้กระทำไป แล้วในกระบวนการล้มละลาย และกระบวนการฟื้นฟูกิจการ นอกจากนั้นได้แก้ไขในเรื่องลำดับ บุริมสิทธิในคดีล้มละลาย โดยกำหนดให้เงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้ลูกหนี้ซึ่งเป็น นายจ้างมีลำดับบุริมสิทธิเดียวกันกับเงินค่าภาษีอากร และเนื่องจากมีการจัดตั้งศาลล้มละลายเพื่อ พิจารณาคดีล้มละลายโดยเฉพาะ สมควรยกเลิกบทบัญญัติในกฎหมายว่าด้วยล้มละลายให้สอดคล้อง กับกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย รวมทั้งเพิ่มบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจในการตรากฎหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ รับรองไว้ด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๑๔๑ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาต า ๒๗๕ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบกับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนดให้ สั กงานศาลยุติธรรมเป็นหน่วยงานธุรการอิสระของศาลยุติธรรม แต่มิได้กำหนดให้กรมบังคับคดีเป็น หน่วยงานธุรการของศาลยุติธรรม กรมบังคับคดีจึงยังอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงยุติธรรม ดังนั้น สมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ในส่วนที่เกี่ยวกับสถานะ ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ดังกล่าว จึงจำเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้ ๑๔๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๗/ตอนที่ ๑๐๓ ก/หน้า ๖/๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๓
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3