สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๑ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๕๒ มาใช้บังคับแก่การนําเงินฝากมาหักชําระหนี้ตามมาตรา นี้โดยอนุโลม มาตรา ๔๔ ถ้าผู้รับหลักประกันจะบังคับหลักประกันโดยให้ทรัพย์สินที่เป็น หลักประกันหลุดเป็นสิทธิ และผู้ให้หลักประกันไม่ชําระหนี้ภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือตาม มาตรา ๓๙ วรรคสอง โดยไม่มีหนังสือคัดค้านการบังคับหลักประกันหลุดเป็นสิทธิภายในระยะเวลา ดังกล่าว ให้ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันและดอกผลที่เกิดขึ้นนับแต่วันที่ผู้รับหลักประกันมีสิทธิเข้า ครอบครองทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันหลุดเป็นสิทธิแก่ผู้รับหลักประกัน แต่หากผู้รับหลักประกัน ได้รับหนังสือคัดค้านภ ยในระยะเวลาดังกล่าว ให้ผู้รับหลักประกันจําหน่ายทรัพย์สินที่เป็น หลักประกันโดยวิธีการประมูลโดยเปิดเผยและให้นําบทบัญญัติมาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๑ มาใช้ บังคับแก่การจําหน่ายหลักประกันตามมาตรานี้โดยอนุโลม การส่งหนังสือคัดค้านตามวรรคหนึ่ง ให้ทําโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือ โดยวิธีการอื่นที่แสดงว่าผู้รับได้รับหนังสือแล้ว มาตรา ๔๕ ก่อนจําหน่ายทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันตามมาตรา ๓๙ วรรคสาม มาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๔ หรือก่อนที่ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันจะหลุดเป็นสิทธิแก่ผู้รับ หลักประกันตามมาตรา ๔๔ ผู้รับหลักประกันต้องรักษาทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันที่อยู่ในความ ครอบครองของตนให้ปลอดภัยและต้องสงวนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันเสมือนเช่นวิญญูชนจะพึง สงวนทรัพย์สินของตนเอง หากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันที่อยู่ในความครอบครองของผู้รับหลักประกันชํารุด เสียหายหรือสูญหายโดยเหตุอันจะโทษผู้ให้หลักประกันมิได้ ให้นําจํานวนค่าเสียหายนั้นไปหักออกจาก จํานวนหนี้ที่ผู้ให้หลักประกันต้องรับผิดตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ มาตรา ๔๖ เมื่อมีเหตุบังคับหลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ หากผู้ให้ หลักประกันหรือผู้ที่ยึดถือทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันไม่ยินยอมส่งมอบการครอบครองทรัพย์สินที่เป็น หลักประกันผู้รับหลักประกันอาจยื่นคําร้องต่อศาลเพื่อให้มีคําพิพากษาบังคับหลักประกัน โดยให้ระบุ ในคําร้องด้วยว่าจะบังคับหลักประกันโดยให้ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันหลุดเป็นสิทธิ หรือโดย จําหน่ายทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันเพื่อนําเงินมาชําระหนี้ มาตรา ๔๗ เมื่อได้รับคําร้องตามมาตรา ๔๖ ให้ศาลกําหนดวันนัดพิจารณาโดยเร็ว และออกหมายเี ยกไปยังผู้ให้หลักประกัน หรือผู้ที่ยึดถือทั พย์สินที่เป็นหลักประกัน ในหมายนั้นให้ แจ้งเหตุที่ผู้รับหลักประกันร้องขอต่อศาลเพื่อมีคําพิพากษาบังคับหลักประกันและวิธีการบังคับ หลักประกันตามคําร้องและข้อความว่าให้ผู้ให้หลักประกันมาศาลเพื่อให้การและสืบพยานในวัน เดียวกัน และให้ศาลสั่งให้ผู้รับหลักประกันมาศาลในวันนัดพิจารณานั้นด้วย ให้ศาลนั่งพิจารณาคดีติดต่อกันทุกวันจนกว่าจะเสร็จการพิจารณาและมีคําพิพากษา หรือคําสั่ง เว้นแต่กรณีมีพฤติการณ์พิเศษอันมิอาจก้าวล่วงได้ ให้คู่ความมาศาลในวันนัดพิจารณาทุกนัด และเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้นํา บทบัญญัติมาตรา ๒๐๐ มาตรา ๒๐๑ มาตรา ๒๐๒ มาตรา ๒๐๓ มาตรา ๒๐๔ มาตรา ๒๐๕ และ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3