สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๑๖ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่คู่สัญญาไม่สามารถตกลงกันเลือกผู้รับใบอนุญาตอื่นเป็นผู้บังคับ หลักประกันแทนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีเหตุตามวรรคสาม คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจยื่นคํา ร้องต่อศาลเพื่อมีคําสั่งแต่งตั้งผู้รับใบอนุญาตคนหนึ่งหรือหลายคนตามที่ศาลเห็นสมควรเป็นผู้บังคับ หลักประกันแทน มาตรา ๖๔ ผู้ให้หลักประกันต้องมีหนังสือชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการที่เป็น หลักประกันที่เป็นอยู่ในวันที่ผู้ให้หลักประกันได้รับหนังสือตามมาตรา ๖๓ วรรคสอง ต่อผู้บังคับ หลักประกันภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และเมื่อมีเหตุผลพิเศษ ผู้บังคับ หลักปรั นอาจขยายให้ได้ตามที่เห็นสมควร หากผู้ให้หลักประกันไม่ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการที่เป็นหลักประกันภายใน กําหนดเวลาตามวรรคหึ่ ง ให้ถือว่าในวันที่ผู้รับหลักประกันได้รับหนังสือตามมาตรา ๖๓ วรรคสอง นั้น กิจการที่เป็นหลักประกันมีอยู่เท่ากับที่ปรากฏในรายการจดทะเบียนในวันที่ผู้รับหลักประกันได้รับ หนังสือดังกล่าว มาตรา ๖๕ เมื่อได้รับหนังสือตามมาตรา ๖๓ วรรคสอง ห้ามมิให้ผู้ให้หลักประกัน จําหน่ายจ่ายโอนกิจการที่เป็นหลักประกัน เว้นแต่ (๑) กิจการนั้นมีทรัพย์สินที่มีสภาพเป็นของสดเสียได้หรือหากหน่วงช้าไว้จะเป็นการ เสี่ยงต่อความเสียหายหรือค่าใช้จ่ายในการเ็ บรักษาจะเกินส่วนกับค่าของทรัพย์สินนั้นรวมอยู่ด้วย หรือมีทรัพย์สินที่ผู้ให้หลักประกันมีหน้าที่ต้องส่งมอบแก่บุคคลภายนอกตามสัญญาหรือนิติสัมพันธ์ที่ ทํ ไว้ก่อนที่จะได้รับหนังสือตามมาตรา ๖๓ วรรคสอง รวมอยู่ด้วย ผู้ให้หลักประกันอาจจําหน่ายจ่าย โอนทรัพย์สินดังกล่าวได้โดยวิธีที่เห็นสมควร แต่ต้องมีหนังสือแจ้งผู้บังคับหลักประกันทราบล่วงหน้าถึง เหตุผลความจําเป็นที่จะต้องจําหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินดังกล่าว ประเภท และปริมาณของทรัพย์สิน นั้น วัน เวลา สถานที่ วิธีการจําหน่ายและราคาจําหน่ายในท้องตลาดของทรัพย์สินนั้นในวันที่มีหนังสือ แจ้ง และราคาที่จะจําหน่ายให้เป็นไปตามสภาพของราคาจําหน่ายในท้องตลาดของทรัพย์สินนั้น หรือ (๒) ผู้ให้หลักประกันได้วางเงินประกันหรือให้หลักประกันเพื่อป้องกันความเสียหาย อันเกิดจากการจําหน่ายจ่ายโอนกิจการที่เป็นหลักประกันตามจํานวนที่ผู้บังคับหลักประกันกําหนด ซึ่ง ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของจํานวนเงินสูงสุดที่ตกลงใช้กิจการเป็นหลักประกัน มาตร ๖๖ ในการไต่สวนข้อเท็จจริง ผู้ให้หลักประั นหรือผู้รับหลักประกันจะ ดําเนินการด้วยตนเอง หรือมอบอํานาจให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคน ให้เป็นผู้ดําเนินการแทน ตนก็ได้ หลักเกณฑ์และวิธีการไต่สวนข้อเท็จจริงให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๗ เมื่อไต่สวนข้อเท็จจริงเสร็จ ให้ผู้บังคับหลักประกันวินิจฉัยว่ามีเหตุ บังคับหลักประกันหรือไม่ ในกรณีที่วินิจฉัยว่ามีเหตุบังคับหลักประกัน ให้ระบุจํานวนหนี้ที่ต้องชําระไว้ ด้วย หากคู่สัญญาตกลงกันให้มีผู้บังคับหลักประกันหลายคน การลงมติวินิจฉัยให้เป็นไป ตามเสียงข้างมาก

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3