สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๓ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) อสังหาริมทรัพย์ในกรณีที่ผู้ให้หลักประกันประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยตรง (๕) ทรัพย์สินทางปัญญา (๖) ทรัพย์สินอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๙ ผู้ให้หลักประกันจะนําทรัพย์สินที่ตนมีสิทธิอยู่ในปัจจุบันหรือที่จะได้มาใน อนาคตตามสัญญาหรือนิติสัมพันธ์ใด ๆ มาใช้เป็นหลักประกันก็ได้ แต่สิทธิเหนือทรัพย์สินอันเป็นวัตถุ แห่งสิทธิที่เป็นหลักประกันตามสัญญาจะมีขึ้นเมื่อผู้ให้หลักประกันได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น มาตรา ๑๐ ผู้ให้หลักประกันมีสิทธิในทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันภายใต้บังคับ เงื่อนไขเช่นใดจะใช้ทรัพย์สินนั้นเป็นหลั ประกันได้ภายใต้บังคับเงื่อ ไขเช่นนั้น มาตรา ๑๑ คู่สัญญาอาจตกลงกันกําหนดเหตุบังคับหลักประกันตามสัญญา หลักประกันทางธุรกิจเป็นประการใดก็ได้ แต่ข้อตกลงดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน มาตรา ๑๒ ในกรณีที่นํากิจการมาเป็นหลักประกัน ให้คู่สัญญาตกลงกันเลือกผู้รับ ใบอนุญาตคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้บังคับหลักประกัน ผู้รับใบอนุญาตซึ่งยินยอมเป็นผู้บังคับหลักประกันต้องมีหนังสือแจ้งให้คู่สัญญาทราบ พร้อมทั้งระบุอัต าหรือจํ นวนค่าตอบแท ในการดําเนิน ไว้ด้วย มาตรา ๑๓ สัญญาหลักประกันทางธุรกิจต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้า พนักงานทะเบียนตามที่บัญญัติไว้ในหมวด ๒ ในกรณีที่นํากิจการมาเป็นหลักประกัน สัญญาตามวรรคหนึ่งต้องระบุชื่อผู้รับ ใบอนุญาตคนหนึ่งหรือหลายคนซึ่งยินยอมเป็นผู้บังคับหลักประกันไว้ด้วย หมวด ๒ การดําเนินการทางทะเบียน มาตรา ๑๔ ให้จัดตั้งสํานักงานทะเบียนหลักประกันทางธุรกิจขึ้นในกรมพัฒนาธุรกิจ การค้า สํานักงานทะเบียนหลักประกันทางธุรกิจมีหน้าที่รับจดทะเบียน แก้ไขรายการจด ทะเบียนและยกเลิกการจดทะเบียนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจตามพระราชบัญญัตินี้ และจัดให้มี ข้อมูลเกี่ยวกับ รจดทะเบียนและข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับใบอนุญาตเพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ การจดทะเบียน การแก้ไขรายการจดทะเบียน และการยกเลิกการจดทะเบียนสัญญา หลักประกันทางธุรกิจ รวมถึงการให้ประชาชนตรวจดูข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนและข้อมูล เกี่ยวกับผู้รับใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากําหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3