สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๔ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๕ ให้อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเป็นเจ้าพนักงานทะเบียนตาม พระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๖ ให้เจ้าพนักงานทะเบียนรับจดทะเบียน แก้ไขรายการจดทะเบียน หรือ ยกเลิกการจดทะเบียนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจตามข้อมูลที่ได้รับแจ้งจากผู้มีหน้าที่ดําเนินการทาง ทะเบียนตามหมวดนี้ โดยผู้มีหน้าที่ดําเนินการทางทะเบียนเป็นผู้รับผิดชอบความถูกต้องและครบถ้วน ของข้อมูลที่ตนเป็นผู้แจ้งนั้น ในกรณีข้อมูลที่ได้รับแจ้งจ กผู้มีหน้าที่ดํ เนินการทางทะเบียนมีรายก รไม่ครบถ้วน ตามมาตรา ๑๘ เจ้าพนักงานทะเบียนต้องไม่รับจดทะเบียน แก้ไขรายการจดทะเบียน หรือยกเลิกการ จดทะเบียนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ มาตรา ๑๗ ให้ผู้รับหลักประกันโดยได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ให้ หลักประกันเป็นผู้ดําเนินการขอจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานทะเบียน เมื่อได้รับจดทะเบียนตามมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่งแล้ว ให้ถือว่าผู้รับหลักประกันเป็น เจ้าหนี้มีประกันตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย ในกรณีที่นํากิจการมาเป็นหลักประกัน ผู้รับหลักประกันต้องยื่นหนังสือของผู้รับ ใบอนุญาตซึ่งยินยอมเป็นผู้บังคับหลักประกันไปพร้อมกับคําขอจดทะเบียน หากผู้ให้หลักประกันต้องได้รับความยินยอมจากผู้อนุญาตให้ใช้สิทธิที่เกี่ยวข้องกับ รประ อบกิจการก่อนจึงจะโอนสิทธิดังกล่าวให้แ่ บุคคลอื่นได้ ผู้รับหลักประกันต้องยื่ หนังสือของ ผู้อนุญาตให้ใช้สิทธิที่ยินยอมให้ผู้ให้หลักประกันโอนสิทธิดังกล่าวให้แก่บุคคลอื่นได้ต่อเจ้าพนักงาน ทะเบียนไปพร้อมกับคําขอจดทะเบียนด้วย มาตรา ๑๘ การจดทะเบียนอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้ (๑) วัน เดือน ปี และเวลาที่จดทะเบียน (๒) ชื่อและที่อยู่ของลูกหนี้และผู้ให้หลักประกัน (๓) ชื่อและที่อยู่ของผู้รับหลักประกัน (๔) ชื่อและที่อยู่ของผู้รับใบอนุญาตซึ่งยินยอมเป็นผู้บังคับหลักประกันและอัตราหรือ จํานวนค่าตอบแทนขอ ผู้บังคับหลักป ะกัน ในกรณีที่นํากิจการมาเป็นหลักประกัน (๕) หนี้ที่กําหนดให้มีการประกันการชําระ (๖) รายละเอียดของทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลั ประกัน หากเป็นทรัพย์สินมีทะเบียนให้ ระบุประเภทของทะเบียน หมายเลขทะเบียน และนายทะเบียนไว้ด้วย หากเป็นสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ให้ หลักประกันใช้ในการประกอบธุรกิจ ให้ระบุประเภท ปริมาณ และมูลค่าของทรัพย์สินดังกล่าวไว้ด้วย (๗) ข้อความที่แสดงว่าผู้ให้หลักประกันตราทรัพย์สินที่ระบุในรายการจดทะเบียนไว้ แก่ผู้รับหลักประกันเพื่อเป็นประกันการชําระหนี้ (๘) จํานวนเงินสูงสุดที่ตกลงใช้ทรัพย์สินเป็นประกัน (๙) เหตุบังคับหลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3