สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ๘ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันหรือที่มีทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันรวมอยู่ด้วยหรือ ที่ได้มาแทนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันตามมาตรา ๓๑ มิใช่ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง บุคคลภายนอก ซึ่งได้ทรัพย์สินนั้นไปโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทนหรือโดยความยินยอมของผู้รับหลักประกัน ย่อมได้ ทรัพย์สินนั้นโดยปลอดภาระหลักประกัน มาตรา ๓๓ ในกรณีที่มีการนําทรัพย์สินสิ่งหนึ่งตราไว้เป็นประกันการชําระหนี้ตาม พระราชบัญญัตินี้แก่ผู้รับหลักประกันหลายราย ให้ถือลําดับผู้รับหลักประกันเรียงตามวันและเวลาที่ ได้รับการจดทะเบียน โดยผู้รับหลักประกันที่ได้รับการจดทะเบียนก่อนมีสิทธิได้รับชําระหนี้ก่อนผู้รับ หลักปรั นที่ได้ั บการจดทะเบียนภายหลัง หากมีการใช้ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันตามพระราชบัญญัตินี้ไปจํานองเป็นประกัน การชําระหนี้ด้วยให้ถือลําดับผู้รับหลักประกันและผู้รับจํานองเรียงตามวันและเวลาที่ได้รับการจด ทะเบียน โดยผู้รับหลักประกันหรือผู้รับจํานองที่ได้รับการจดทะเบียนก่อนมีสิทธิได้รับชําระหนี้ก่อน ผู้รับหลักประกันหรือผู้รับจํานองที่ได้รับการจดทะเบียนภายหลัง มาตรา ๓๔ เมื่อมีบุริมสิทธิแย้งกับสิทธิตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจให้ถือลําดับ บุริมสิทธิ ดังนี้ (๑) หากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันเป็นสังหาริมทรัพย์ ให้ผู้รับหลักประกันมีสิทธิ เป็นอย่างเดียวกันกับผู้รับจํานําตามมาตรา ๒๘๒ แห่งประมวล ฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หากมีการ จดทะเบียนจํานองสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ด้วย ให้ผู้รับหลักประกันมีสิทธิเป็นอย่างเดียวกันกับผู้รับจํานอง ต มมาตรา ๒๘๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (๒) หากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันเป็นอสังหาริมทรัพย์ ให้ผู้รับหลักประกันมีสิทธิ เป็นอย่างเดียวกันกับผู้รับจํานองตามมาตรา ๒๘๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หมวด ๕ การบังคับหลักประกันที่เป็นทรัพย์สิน มาตรา ๓๕ ในกรณีที่มีการนําทรัพย์สินที่มีการจํานองเป็นประกันการชําระหนี้ตาม กฎหมายอื่นมาจดทะเบียนเป็นหลักประกันตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย หรือมีการนําทรัพย์สินที่จด ทะเบียนเป็นหลักประกันตามพระราชบัญญัตินี้ไปจํานองเป็นประกันการชําระหนี้ตามกฎหมายอื่นด้วย ผู้รับจํานองจะบังคับจํานองโดยวิธีการบังคับหลักประกันตามพระราชบัญญัตินี้ก็ได้ ในระหว่างที่ผู้รับจํานองบังคับจํานองตามกฎหมาย หากปรากฏว่ามีเหตุบังคับ หลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ เมื่อได้รับแจ้งเหตุดังกล่าวจากผู้รับหลักประกันตาม สัญญาหลักประกันทางธุรกิจ ผู้รับจํานองต้องดําเนินการบังคับจํานองโดยวิธีการบังคับหลักประกัน ต มพร ราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่เหตุบังคับหลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจเกิดขึ้นระหว่างที่คดี บังคับจํานองอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล ให้ผู้รับหลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจยื่น คําขอโดยทําเป็นคําร้องต่อศาล เพื่อให้ศาลมีคําสั่งงดการพิจารณา ในการนี้ ให้ศาลดําเนินการไต่สวน โดยเร็ว หากความปรากฏต่อศาลว่ามีเหตุบังคับหลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจเกิดขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3