ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

147 9. เงื่อนไขเกี่ยวกับการฟ้องซ้อน การฟ้องซ้า และการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้า หากคดีที่ฟูองนั้นเป็นการฟูองซ้อน หรือการฟูองซ้า หรือการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้า ศาลก็จะสั่ง ไม่รับคาฟูองไว้พิจารณาและสั่งจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ 9.1 การฟ้องซ้อน นับแต่เวลาที่ได้ยื่นคาฟูองต่อศาลปกครองแล้ว คดีนั้นอยู่ในระหว่างการพิจารณา ห้ามมิให้ ผู้ฟูองคดียื่นคาฟูองเรื่องเดียวกันนั้นต่อศาลเดียวกันหรือศาลอื่นอีก ตามข้อ 36 (1) แห่งระเบียบของที่ประชุม ใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 184/2551 การที่ผู้ฟูองคดีได้ยื่นฟูองเจ้าหน้าที่ไว้ต่อศาลปกครอง แล้วต่อมาในระหว่างที่คดีนั้นอยู่ระหว่างการพิจารณา ผู้ฟูองคดียื่นคาฟูองเรื่องเดียวกันนั้นต่อศาลปกครองอีก แต่เพิ่มผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่นั้นเป็นผู้ถูกฟูองคดีด้วยนั้น ถือเป็นการฟูองซ้อน คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 426/2565 คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ถือเป็นคาฟูองตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ดังนั้น หากผู้ฟูองคดีได้ยื่นคา ขอให้พิจารณาคดีใหม่ต่อศาล แล้วต่อมาผู้ฟูองคดีได้ยื่นคาขอให้พิจารณาคดีใหม่ในเรื่องเดียวกันต่อศาล เดียวกันหรือศาลอื่นอีก ถือเป็นการฟูองซ้อน 9.2 การฟ้องซ้า คดีที่ได้มีคาพิพากษาหรือคาสั่งชี้ขาดคดีถึงที่สุดแล้ว ห้ามมิให้คู่กรณีเดียวกันฟูองกันอีกในประเด็น ที่ได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน ตามข้อ 97 แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 72/2550 เมื่อศาลได้มีคาพิพากษาหรือคาสั่งชี้ขาดคดีถึงที่สุด ในคดีนั้นแล้ว ผู้ฟูองคดีจึงนาคดีนั้นมาฟูองอีกในประเด็นที่ได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันไม่ได้ แม้จะเปลี่ยนตัวผู้ถูกฟูองคดีจากเจ้าหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่นั้นก็ตาม เพราะถือเป็นการฟูองซ้า คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ เมื่อคดีก่อนศาลปกครองมีคาสั่งถึงที่สุดไม่รับคาฟูองไว้พิจารณา เนื่องจากคดีไม่อยู่ในอานาจของศาลปกครอง ผู้ฟูองคดีจึงนาคดีมาฟูองใหม่ต่อศาลปกครองอีกไม่ได้ เพราะ จะเป็นการฟูองซ้า 9.3 การดาเนินกระบวนพิจารณาซ้า หลัก เมื่อศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งชี้ขาดคดีหรือประเด็นข้อใดแห่งคดีแล้ว ห้ามมิให้ดา เนิน กระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วนั้น ตามข้อ 96 วรรคหนึ่ง แห่ง ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ .ศ. 2543 เช่น หน่วยงานทางปกครองได้ทาสัญญากับบริษัทเอกชน แล้วหน่วยงานทางปกครองได้ยื่นฟูองบริษัทเอกชน ตามสัญญาดังกล่าว ศาลปกครองชั้นต้นได้มีคาพิพากษา แต่หน่วยงานทางปกครองไม่พอใจจึงยื่นอุทธรณ์ ต่อมาในระหว่างที่คดีนั้นอยู่ระหว่างการพิจารณา บริษัทเอกชนได้ยื่นฟูองหน่วยงานทางปกครองตามสัญญา

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3