ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

4 ข้าราชการตุลาการศาลปกครองแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามมาตรา 11/1 (1) แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 คือ 1. ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด 2. ตุลาการใน ศาลปกครองชั้นต้น และ 3. ตุลาการประจาศาลปกครองชั้นต้น 5.1 ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด 5.1.1 ตาแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในศาลปกครองสูงสุด ให้มีตาแหน่งตุลาการศาลปกครอง 5 ตาแหน่ง ตามมาตรา 12 แห่ง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ดังต่อไปนี้ (1) ประธานศาลปกครองสูงสุด (2) รองประธานศาลปกครองสูงสุด (3) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด (4) ตุลาการศาลปกครองสูงสุด (5) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ศป. ประกาศกาหนด 5.1.2 คุณสมบัติของตุลาการในศาลปกครองสูงสุด เนื่องจากตุลาการศาลปกครองสูงสุดต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้และความเข้าใจในกฎหมาย มหาชนเป็นอย่างดี และจะต้องมีประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบกับคาพิพากษา หรือคาสั่งของศาลปกครองสูงสุดย่อมทาให้คดีถึงที่สุด คู่ความไม่อาจโต้แย้งไปยังศาลที่เหนือกว่าได้อีก ดังนั้น พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 13 จึงกาหนดว่า ผู้ที่จะ ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการในศาลปกครองสูงสุดต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุไม่ต่ากว่า 45 ปี (3) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือในการบริหารราชการแผ่นดิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่ ก.ศป. กาหนด และ (4) มีคุณสมบัติอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (ก) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการร่างกฎหมาย กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ หรือกรรมการ กฤษฎีกา (ข) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่ง ไม่ต่ากว่าตุลาการหัวหน้าคณะ ศาลปกครองชั้นต้น (ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้พิพากษาศาลฎีกาหรือ เทียบเท่าหรือตุลาการพระธรรมนูญศาลทหารสูงสุด (ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอัยการพิเศษประจาเขตหรือ เทียบเท่า

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3