ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
24 ข้อสังเกต คาขอของผู้ฟูองคดีต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในมาตรา 72 แห่ง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 (5) ลายมือชื่อของผู้ฟูองคดี ถ้าเป็นการยื่นฟูองคดีแทนผู้อื่นจะต้องแนบใบมอบฉันทะให้ฟูองคดีมา ด้วย คาฟูองต้องทาเป็นหนังสือและมีรายการตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 45 กับให้แนบพยานหลักฐานที่ เกี่ยวข้องด้วย ในกรณีที่ไม่อาจแนบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องได้ เพราะพยานหลักฐานอยู่ในความครอบครอง ของหน่วยงานทางปกครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลอื่น หรือเพราะเหตุอื่นใด ให้ระบุเหตุที่ไม่อาจแนบ พยานหลักฐานไว้ด้วย และในกรณีที่ผู้ถูกฟูองคดีมิใช่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้ระบุชื่อ และที่อยู่ของบุคคลซึ่งเป็นผู้ถูกฟูองคดีไว้ด้วย ตามข้อ 32 แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการใน ศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 2.5 จัดทาสาเนาคาฟ้องและสาเนาพยานหลักฐาน ผู้ฟูองคดีต้องจัดทาสาเนาคาฟูองและสาเนาพยานหลักฐานที่ผู้ฟูองคดีรับรองสาเนาถูกต้องตาม จานวนของผู้ถูกฟูองคดี ยื่นมาพร้อมกับคาฟูองด้วย ในกรณีที่ผู้ฟูองคดีไม่จัดทาสาเนาคาฟูองและสาเนา พยานหลักฐานให้ครบถ้วน หรือในกรณีที่จานวนผู้ถูกฟูองคดีเพิ่มขึ้น ศาลมีอานาจแจ้งให้ผู้ฟูองคดีจัดทาสาเนา เพิ่มภายในระยะเวลาที่กาหนด ถ้าผู้ฟูองคดีไม่ดาเนินการภายในระยะเวลาที่กาหนด ศาลจะสั่งไม่รับคาฟูองไว้ พิจารณาและสั่งจาหน่ายคดีออกจากสารบบความก็ได้ ตามข้อ 33 แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการใน ศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 2.6 กรณีมีผู้ประสงค์จะฟ้องคดีปกครองหลายคนในเหตุเดียวกัน ในกรณีที่มีผู้ประสงค์จะฟูองคดีปกครองหลายคนในเหตุเดียวกัน บุคคลเหล่านั้นอาจยื่นคาฟูอง ร่วมกันเป็นฉบับเดียว โดยจะมอบหมายให้ผู้ฟูองคดีคนใดเป็นผู้แทนของผู้ฟูองคดีทุกคนในการดาเนินคดีต่อไป ก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี้ให้ถือว่าการกระทาของผู้แทนผู้ฟูองคดีในกระบวนพิจารณาผูกพันผู้ฟูองคดีทุกคน ตาม มาตรา 45 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 2.7 วิธีการยื่นคาฟ้อง การยื่นคาฟูองทาได้ 3 วิธี ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ดังนี้ 2.7.1 ยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครอง กล่าวคือ ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ของศาลปกครอง ฝุายรับฟูอง ณ ศาลปกครองที่มีเขตอานาจ โดยผู้ฟูองคดีจะยื่นฟูองด้วยตนเองก็ได้ หรือผู้ฟูองคดีจะมอบอานาจ ให้บุคคลอื่นหรือทนายความยื่นฟูองแทนก็ได้ ซึ่งในกรณีที่ผู้ฟูองคดีมอบอานาจให้ทนายความยื่นฟูองแทนนั้น ไม่จาต้องใช้ใบแต่งทนายความเหมือนในคดีแพ่งหรือคดีอาญา 8 8 ชาญชัย แสวงศักดิ์, คาอธิบายกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง , พิมพ์ครั้งที่ 12 (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์วิญญูชน, 2563), หน้า 275 - 276.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3