ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

31 4. ในกรณีที่มีการฟ้องคดีต่อศาลใด แต่ศาลนั้นไม่รับฟ้องเพราะเหตุว่าคดีดังกล่าวอยู่ในเขตอานาจของอีก ศาลหนึ่ง และเมื่อมีการฟ้องคดีต่ออีกศาลหนึ่งแล้ว หากศาลดังกล่าวเห็นว่าคดีนั้นไม่อยู่ในเขตอานาจ เช่นกัน ในกรณีที่มีการฟูองคดีต่อศาลใด แต่ศาลนั้นไม่รับฟูองเพราะเหตุว่าคดีดังกล่าวอยู่ในเขตอานาจของอีก ศาลหนึ่ง เมื่อมีการฟูองคดีต่ออีกศาลหนึ่งแล้ว หากศาลดังกล่าวเห็นว่าคดีนั้นไม่อยู่ในเขตอานาจเช่นกัน เช่น ในกรณีที่มีการฟูองคดีต่อศาลปกครอง แต่ศาลปกครองนั้นไม่รับฟูอง เพราะเหตุว่าคดีดังกล่าวอยู่ในเขตอานาจ ของศาลยุติธรรม เมื่อมีการฟูองคดีศาลยุติธรรมแล้ว หากศาลยุติธรรมดังกล่าวเห็นว่าคดีนั้นไม่อยู่ในเขตอานาจ ของศาลยุติธรรมเช่นกัน เป็นต้น ให้ศาลปกครองส่งเรื่องไปให้คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่าง ศาลพิจารณาวินิจฉัย โดยให้นาความในมาตรา 10 วรรคหนึ่ง (3) และมาตรา 11 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ตาม มาตรา 12 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. 2542 5. ในกรณีที่ศาลปกครองเห็นว่าคดีที่ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้นมีหลายข้อหา ถ้าข้อหาหนึ่งข้อหาใด เป็นเรื่องที่อยู่ในเขตอานาจของศาลปกครองชั้นต้นอื่น ศาลปกครองสูงสุด หรือศาลอื่นซึ่งมิใช่ศาลปกครอง ในกรณีที่องค์คณะของศาลปกครองชั้นต้นเห็นว่าคดีที่ยื่นฟูองต่อศาลปกครองชั้นต้นมีหลายข้อหา ถ้าข้อหาหนึ่งข้อหาใดเป็นเรื่องที่ไม่อยู่ในอานาจหรือเขตอานาจของศาลปกครองชั้นต้นนั้น ไม่ว่าจะโดยเหตุที่ ข้อหาดังกล่าวอยู่ในอานาจหรือเขตอานาจของศาลปกครองชั้นต้นอื่น ศาลปกครองสูงสุด หรือศาลอื่นซึ่งมิใช่ ศาลปกครอง ให้สั่งไม่รับข้อหาที่ไม่อยู่ในอานาจหรือเขตอานาจไว้พิจารณา แล้วดาเนินกระบวนพิจารณาใน ส่วนของข้อหาที่อยู่ในอานาจและเขตอานาจต่อไป แต่ในกรณีที่องค์คณะเห็นว่าข้อหาที่สั่งไม่รับไว้พิจารณาจะมี ผลต่อการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครองชั้นต้นนั้น องค์คณะอาจมีคาสั่งให้รอการพิจารณาพิพากษาคดี ไว้ จนกว่าข้อหาที่สั่งไม่รับไว้พิจารณาจะได้มีการพิพากษาหรือมีคาสั่งชี้ขาดคดีโดยศาลที่มีอานาจหรือ เขตอานาจ และคดีถึงที่สุดแล้ว ตามข้อ 41 วรรคหนึ่ง แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครอง สูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 6. ในกรณีที่คดีที่ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้นข้อหาใดมีหลายประเด็นเกี่ยวพันกัน และปรากฏว่ามี ประเด็นที่จาเป็นต้องวินิจฉัยก่อนจึงจะวินิจฉัยประเด็นหลักแห่งคดีได้ อยู่ในเขตอานาจของศาลปกครอง ชั้นต้นอื่นหรือศาลอื่นซึ่งมิใช่ศาลปกครอง ในกรณีที่คดีที่ยื่นฟูองต่อศาลปกครองชั้นต้นข้อหาใดมีหลายประเด็นเกี่ยวพันกัน และปรากฏว่า มีประเด็นที่จาเป็นต้องวินิจฉัยก่อนจึงจะวินิจฉัยประเด็นหลักแห่งคดีได้อยู่ในอานาจหรือเขตอานาจของ ศาลปกครองชั้นต้นอื่นหรือศาลอื่นซึ่งมิใช่ศาลปกครอง ศาลปกครองชั้นต้นซึ่งรับคดีไว้มีอานาจวินิจฉัยประเด็น เกี่ยวพันกันที่ต้องวินิจฉัยก่อนนั้น เพื่อให้ศาลสามารถวินิจฉัยประเด็นหลักแห่งคดีได้ ตามข้อ 41 วรรคสอง แห่ง ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3