การศึกษาอิสระ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

10 ทางวิชาการเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษาในแต่ละแห่ง ตามมาตรา 35/1 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 2.1.2 ประเภทของมหาวิทยาลัยของรัฐ ประเภทของมหาวิทยาลัยของรัฐ ในปีพ.ศ. 2564 สถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ มหาวิทยาลัยรัฐ จำนวน 57 แห่ง และมหาวิทยาลัยในกำกับ จำนวน 26 แห่ง รวมเป็นจำนวน 83 แห่ง โดยรายละเอียดมีดังต่อไปนี้ ( สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา , 2564) 1) มหาวิทยาลัยรัฐ มีจำนวน 57 แห่ง โดยแบ่งเป็น 6 ภาค ดังต่อไปนี้ ภาคใต้ มีมหาวิทยาลัยรัฐเป็นจำนวน 7 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎ์ธานี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชัย ภาคกลาง มีมหาวิทยาลัยรัฐเป็นจำนวน 23 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัย รามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน สถาบันวิทยาลัยชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มหาวิทยาลั ยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ภาคเหนือ มีมหาวิทยาลัยรัฐเป็นจำนวน 5 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีมหาวิทยาลัยรัฐเป็นจำนวน 16 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3