การศึกษาอิสระ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
89 วรรคสอง “บริการสาธารณสุขตามวรรคหนึ่ง ต้องครอบคลุมการ ส่งเสริมสุขภาพการควบคุมและป้องกันโรคการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสุขภาพด้วย” วรรคสาม “รัฐต้องพัฒนาการบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมี มาตรฐานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง” ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของรัฐในการดาเนินการตามเจตนารมณ์ของ กฎหมายให้เป็นรูปธรรมเมื่อรัฐธรรมนูญมาตรา 55 กาหนดให้รัฐมีหน้าที่ดาเนินการให้ ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขเป็นการทาเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยตรง การ เข้าถึงบริการสาธารณสุขเพื่อได้รับประโยชน์ ประกอบกับรัฐธรรมนูญให้ดาเนินการปฏิรูป ประเทศอย่างน้อยในด้านของระบบหลักประกันสุขภาพตามบทบัญญัติ มาตรา 258 ช.(4) “ปรับระบบหลักประกันสุขภาพ ให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จากการบริการจัดการ และการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน” 2.10.1.2 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ก ฎ ห ม า ย ป ร ะ กั น สั ง ค ม ที่ มี ผ ล ใช้ บั ง คั บ อ ยู่ ใน ปั จ จุ บั น คื อ พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ซึ่งได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาแล้ว 3 ครั้ง เพื่อให้มีความ เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ในแต่ละยุคสมัย ครั้งล่าสุดคือ พระราชบัญญัติ ประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2558 โดยให้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้น 120 วันนับแต่วันประกาศ ดังนั้นจึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เป็นต้นมา การแก้ไขเพิ่มเติมครั้งนี้ได้ขยายความคุ้มครองให้ครอบคลุมถึง ลูกจ้างชั่วคราวทุกประเภทของส่วนราชการ และลูกจ้างของนายจ้างที่มีสานักงานในประเทศ และไปประจาทางานใน ต่างประเทศ จากเดิมลูกจ้างของส่วนราชการนั้นจะได้รับความ คุ้มครองเฉพาะลูกจ้างชั่วคราวรายเดือนเท่านั้น รวมทั้งแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคาว่า “ลูกจ้าง” เพื่อให้มีความหมายครอบคลุมถึงลูกจ้างทั้งหมด ไม่ว่าจะเรียกว่า อย่างไร นอกจากนี้ ผู้ประกันตนยังได้รับการคุ้มครองและได้รับประโยชน์ทดแทนที่สาคัญเพิ่มขึ้นหลายประการ โดยเฉพาะกรณีเกี่ยวกับ ประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ซึ่งได้ขยาย ความคุ้มครองให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนจากกองทุน รวมทั้งกรณี การ ส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วย ซึ่งสิทธิดังกล่าวไม่อาจโอนกันได้และไม่อยู่ในความรับ ผิดแห่งการบังคับคดี และเพิ่มประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอันมิใช่ เนื่องจากการทางาน คือ ค่าส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ และค่าใช้จ่าย เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ ผู้ประกันตน ในกรณีที่ผู้ประกันตนได้รับความเสียหายจากการ รับบริการทางการแพทย์ จากเดิมมีเพียงค่าตรวจ วินิจฉัยโรค ค่าบาบัดทางการแพทย์ ค่ากินอยู่ และรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล ค่ายาและค่าเวชภัณฑ์ ค่ารถพยาบาลหรือค่าพาหนะรับส่ง ผู้ป่วย และค่าบริการอื่นที่จาเป็นเท่านั้น (ณัฐพล ยิ่งกล้า, 2558, หน้า 2 – 4) สาหรับสิทธิประโยชน์ที่ได้รับภายใต้ระบบประกันสังคม กรณีประสบ อันตรายหรือเจ็บป่วย ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดย กาหนดไว้ในหมวด 2 มาตรา 62 กาหนดเงื่อนไขไว้ว่า “ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับประโยชน์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3