การศึกษาอิสระ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

106 สัมภาษณ์ตามประเด็นที่กาหนดไว้ล่วงหน้า และดาเนินการสัมภาษณ์โดยตรงระหว่างผู้วิจัยกับ ผู้ให้ข้อมูลสัมภาษณ์ 3.2.2 ขอบเขตผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ผู้ให้ข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึกแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ผู้บริหารหรือผู้แทนของโรงพยาบาลรัฐ กลุ่มผู้แทนแพทย์ผู้ให้การรักษา กลุ่มผู้ปฏิบัติงานของ โรงพยาบาลเกี่ยวกับระบบการส่งต่อ กลุ่มผู้แทนของสานักงานประกันสังคม และกลุ่ม ผู้ประกันตน รวมจานวน 10 คน ดังนี้ 1) กลุ่มผู้บริหารของโรงพยาบาลหรือผู้แทนที่มีอานาจตัดสินใจ ได้แก่ ผู้อานวยการ โรงพยาบาล หรือรองผู้อานวยการ จานวน 1 คน 2) กลุ่มผู้แทนแพทย์ผู้ให้การรักษา จานวน 2 คน 3) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานของโรงพยาบาลเกี่ยวกับระบบการส่งต่อ จานวน 2 คน 4) กลุ่มผู้แทนของสานักงานประกันสังคม จานวน 1 คน 5) กลุ่มตัวแทนของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลา โดย มาจากผู้ให้ข้อมูล 4 คน คือ ผู้ที่พึงพอใจต่อการให้บริการและผู้ที่เคยร้องเรียนระบบส่งต่อ ของสถานพยาบาล 3.2.3 ประเด็นสัมภาษณ์ ผู้วิจัยได้กาหนดแบบคาถามสัมภาษณ์ใช้คาถามเป็นชุดเดียวกัน ในการ สัมภาษณ์ทั้งห้ากลุ่ม โดยแบ่งประเด็นคาถามออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ - วันเวลา และสถานที่สัมภาษณ์ - ตาแหน่งหน้าที่งาน การงาน หน่วยงานรัฐ หรือตัวแทนผู้ประกันตนในระบบ ประกันสังคม ส่วนที่ 2 ระบบของโรงพยาบาลรัฐที่มีต่อผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม เกี่ยวกับระบบการส่งต่อการรักษาพยาบาลควรรูปแบบอย่างไร 1) ท่านคิดว่าบริการทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับระบบการส่งต่อการรักษาพยาบาล ของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมในปัจจุบันมีประสิทธิภาพเพียงพอหรือไม่อย่างไร 2) ท่านคิดว่าระบบการส่งต่อการรักษาพยาบาลของผู้ประกันตนในระบบ ประกันสังคมมีปัญหาหรืออุปสรรคหรือไม่อย่างไร ส่วนที่ 3 กองทุนประกันสังคมควรรับผิดชอบต่อการรักษาพยาบาลของ ผู้ประกันตนในระบบการส่งต่ออย่างไร 1) ท่านคิดว่าระบบการส่งต่อผู้ประกันตนเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายควรให้กองทุน ประกันสังคมเป็นผู้รับผิดชอบหรือไม่ 2) ท่านเห็นด้วยหรือไม่ หากค่าใช้จ่ายที่เกิดจากระบบส่งต่อผู้ป่วยให้กองทุน ประกันสังคมเป็นผู้รับผิดชอบเหมือนกับระบบข้าราชการที่กรมบัญชีเป็นผู้จ่าย

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3