การศึกษาอิสระ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ประเทศไทยให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีทั้งภาคการเกษตรและ อุตสาหกรรม ประชาชนจึงเป็นกาลังสาคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างยิ่ง หากประชาชนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจบ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตที่ดีสะท้อน ความเป็นอยู่ที่มั่นคงรวมถึงศักยภาพของประชาชนในสังคมที่เป็นตัวชี้วัดการขับเคลื่อน เศรษฐกิจภายในประเทศ รัฐได้ตระหนักถึงสุขภาพของประชาชนถือเป็นสิ่งสาคัญด้วยการสร้าง ระบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนคนไทยทุกคนไม่ว่าจะประกอบอาชีพใดก็ตามปัญหา สุขภาพของประชาชนมิได้มีแต่เฉพาะประเทศไทยเท่านั้นที่ให้ความสาคัญองค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้เห็นถึงความสาคัญสุขภาพของประชากรทั่วโลกมี สุขภาพอนามัยที่ดีและเข้าถึงบริการทางการแพทย์อย่างมีมาตรฐาน สหประชาชาติมีมติรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และกาหนดสิทธิ ด้านสุขภาพของประชาชนการเข้าถึงบริการสาธารณะและหลักการห้ามเลือกปฏิบัติ ตามหลักสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948 รับรองสิทธิว่าทุกคน มีสิทธิในการมีชีวิต เสรีภาพและความมั่นคงแห่งบุคคลทุกคนเสมอภาคกันตามกฎหมายและ มีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองของกฎหมายเท่าเทียมกันโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใดทุกคน มีสิทธิที่จะเข้าถึงบริการสาธารณะในประเทศตนโดยเสมอภาคทุกคนในฐานะสมาชิกของสังคม มีสิทธิในหลักประกันทางสังคม และย่อมมีสิทธิในการบรรลุสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม ประกอบ กับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.1996 รับรองการ คุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพและการไม่เลือกปฏิบัติต่อประชาชนในสิทธิสวัสดิการสังคมและ รับที่จะประกันว่าสิทธิทั้งหลายที่ระบุไว้ในกติกานี้จะใช้ได้โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด และ รับรองสิทธิของทุกคนในอันที่จะมีสวัสดิการสังคมรวมทั้งการประกันสังคม ซึ่งข้อ 12 (1) กาหนดว่า “รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรองสิทธิของทุกคนที่จะมีสุขภาพและสุขภาพจิต ตามมาตรฐานสูงสุดเท่าที่เป็นได้ (d) การสร้างสภาวะที่ประกันบริการทางการแพทย์ และ การให้การดูแลรักษาพยาบาลแก่ทุกคนในกรณีเจ็บป่วย” เห็นได้ว่ากฎหมายระหว่างประเทศ ทั้งสองฉบับนี้ให้ความสาคัญและรับรองสิทธิประชาชนทุกคน ดูแลด้านการรักษาพยาบาล ในประกันสังคมและสวัสดิการสังคมให้เป็นไปตามมาตรฐานโดยพื้นฐานของกฎหมายระหว่าง ประเทศที่มีอยู่ในปัจจุบัน เมื่อประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกสหประชาชาติร่วมอยู่และ ให้สัตยาบันแล้วจึงมีพันธกรณีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการคุ้มครอง สิทธิด้านสุขภาพของประชาชนให้เป็นตามมาตรฐานสากล สาหรับประเทศไทยรัฐได้จัดระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ กลุ่มข้าราชการ เป็นผู้ใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการที่คุ้มครองสิทธิ บุคคลในครอบครัวด้วย ครอบคลุมผู้มีสิทธิประมาณ 4.48 ล้านคนในปี พ.ศ.2565 บริหาร

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3