การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

30 ที่เกี่ยวกับกำรท่องเที่ยว เพื่อปกป้อง สงวนรักษำและพัฒนำสิ่งเหล่ำนี้ให้อนุชนคนรุ่นหลัง ซึ่งต้องปลูกจิตสำนึกให้แก่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ทั้ง นักท่องเที่ยว คนท้องถิ่น ผู้ประกอบกำรและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรท่องเที่ยว ในปัจจุบันมีรูปแบบกำรท่องเที่ยวหลำย แบบที่มุ่งส่งเสริมสนับสนุนกำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืน เช่น กำรท่องเที่ยวเชิงชุมชน ( Community Based Tourism) กำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (Ecotourism) หรือแม้แต่นโยบำยรัฐหรือหน่วยงำน ท้องถิ่นที่ดูแลรักษำสิ่งแวดล้อมหรือกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวในแต่ละแหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น (สมำคมธุรกิจกำรท่องเที่ยวภำยในประเทศไทย, 2564) เพื่อเป็นไปตำมแนวทำงกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน องค์กำรท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ได้กำหนดหลักกำรของกำรท่องเที่ยวแบบยั่งยืนไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 ว่ำลักษณะของกำรท่องเที่ยวแบบยั่งยืนได้รับกำรคำดหมำยให้นำไปสู่กำรจัดกำรทรัพยำกรทั้งมวลด้วย วิถีทำงที่ตอบสนองต่อควำมต้องกำรทำงด้ำน เศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียะ ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่ง บูรณภำพทำงวัฒนธรรมกระบวนกำรทำงนิเวศวิทยำที่จำเป็น ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและระบบ ต่ำง ๆ ที่เอื้อต่อชีวิตเพื่อให้เกิดควำมยั่งยืนในอุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยว กำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืน มีหลักกำรที่สอดคล้องกับกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน และได้รับควำมสนับสนุนจำกคณะกรรมำธิกำรว่ำด้วย กำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน (Commission on Sustainable Development) ขององค์กำรสหประชำชำติ ซึ่งหลักกำรโดยทั่วไปของกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน จะต้องมีกำรอนุรักษ์และใช้ทรัพยำกรอย่ำงพอเหมำะ เพื่อสำมำรถใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรเหล่ำนั้นได้อย่ำงยืนยำว และมีกำรกระจำยผลประโยชน์ให้แก่ ชุมชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีกำรร่วมมือกันอย่ำงใกล้ชิด ระหว่ำงผู้ที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย (กำญจน์นภำ พงศ์พนรัตน์, 2564) องค์กำรกำรท่องเที่ยวแห่งโลก ได้ให้คำจำกัดควำมล่ำสุดของ กำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable Tourism) ว่ำกำรท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจะไม่ใช่เป็นเพียงแค่กำรท่องเที่ยวขนำดเล็กหรือ กำรตลำดเฉพำะกลุ่ม (Nichetourism Segments) โดยทั่วไปกำรท่องเที่ยวแบบยั่งยืน หมำยถึง กำร ท่องเที่ยวที่ให้ควำมสำคัญต่อกำรเสมอภำคระหว่ำงเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสังคมและ วัฒนธรรมของคนทั้งในรุ่นปัจจุบันต่อไปจนถึงคนในอนำคต (องค์กำรท่องเที่ยวแห่งโลก WTO, 2561) โด ย ห ลั ก ก ำ ร แ ล ะ แ น ว คิ ด ที่ ส ำ คั ญ ข อ ง ก ำ ร ท่ อ ง เที่ ย ว แ บ บ ยั่ ง ยื น ใน ค ำ จ ำ กั ด ค ว ำ ม ของ WTO ประกอบด้วย 3 ข้อ คือ 1. กำรท่องเที่ยว ต้องตระหนักและใช้ทรัพยำกรธรรมชำติ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพให้ เหมำะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. กำรเคำรพในสังคม วัฒนธรรม และประเพณีของประชำชนพื้นเมือง รวมไปถึงกำรรู้จักปรับตัว และเข้ำใจถึงควำมแตกต่ำงทำงวัฒนธรรมและประเพณีของแต่ละชุมชน และ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3