การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

49 3.2 กำรวิจัยภำคสนำม (Field research) กำรวิจัยภำคสนำมเป็นกำรเก็บรวบรวมข้อมูลมำจำกผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง จำกเกำะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูลดังนั้น จึงต้องมีกระบวนวิธีกำรในกำรเก็บข้อมูล ซึ่งกำรศึกษำนี้กำหนด ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภำพ คือ กำรสัมภำษณ์เชิงลึก (In-depth interviews) 3.2.1. สัมภำษณ์เชิงลึก เป็นกำรเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงลึกด้วยกำรสัมภำษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกำรท่องเที่ยว เชิงนิเวศ โดยใช้วิธีกำรสัมภำษณ์ตำมประเด็นที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้ำ และดำเนินกำรสัมภำษณ์โดยตรง ระหว่ำงผู้วิจัยกับประชำกรสัมภำษณ์ 3.2.2. ขอบเขตด้ำนผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประชำกรในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลสัมภำษณ์เชิงลึกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม จำนวน 15 คน ได้แก่ 1. กลุ่มเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ 1) ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 1 คน 2) ผู้แทนอุทยำนแห่งชำติตะรุเตำ จังหวัดสตูล จำนวน 1 คน 3) ผู้นำชุมชน จำนวน 1 คน 4) ผู้แทนสำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน 5) ผู้แทนกำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจำจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน 6) ผู้แทนอุทยำนธรณีโลกสตูล จำนวน 1 คน 7) ผู้แทนท่องเที่ยวและกีฬำจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน 2. กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 1) ตัวแทนกลุ่มผู้ประกอบกำร จำนวน 2 คน 2) ตัวแทนกลุ่มคนในพื้นที่ จำนวน 3 คน 3) ตัวแทนนักท่องเที่ยว จำนวน 2 คน 4) ตัวแทนมัคคุเทสก์ จำนวน 1 คน

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3