การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
118 ที่ สิทธิ เด็กและ เยาวชน บุคคล ทั่วไป ผู้สูงอายุ หลายครั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ป.วิ.อาญา มาตรา 133 ทวิ) 18 ผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความ หรือผู้ซึ่งจะเป็น ทนายความ (มาตรา 83 วรรคสอง) ✓ ✓ ✓ คำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ 419/2556 เรื่อง การอำนวยความยุติธรรมในคดีอาญา การทำสำนวนการสอบสวนและมาตรการควบคุม ตรวจสอบ เร่งรัดการสอบสวนคดีอาญา 1 การถามปากคำผู้เสียหายหรือพยานที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี ให้ พนักงานสอบสวนดำเนินการ โดยแยกทำการสอบสวนให้เป็นส่วนสัด ใน สถานที่ที่เหมาะสมสำหรับเด็ก และให้มีนักจิตวิทยาหรือนักสังคม สงเคราะห์ บุคคลที่เด็กร้องขอ และพนักงานอัยการร่วมอยู่ด้วยในการ ถามปากคำเด็กนั้น และในกรณีที่นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ เห็นว่าการถามปากคำเด็กคนใดหรือคำถามใดอาจจะมีผล กระทบกระเทือนต่อจิตใจเด็กอย่างรุนแรง ✓ 2 แจ้งให้ผู้เสียหายหรือพยานที่เป็นเด็กทราบถึงสิทธิดังต่อไปนี้ (1) สิทธิที่จะได้รับการสอบสวนในสถานที่อันเป็นสัดส่วน และเหมาะสม (2) สิทธิในการให้นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์บุคคลที่เด็กร้องขอ และพนักงานอัยการ ร่วมอยู่ด้วยในการถามปากคำ (3) สิทธิในการตอบคำถามผ่านนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ กรณีที่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์เห็นว่าการถามคำถามโดยตรง หรือการถามคำถามบางคำถามอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อจิตใจเด็ก อย่างรุนแรง (4 ) สิทธิที่จะไม่ตอบคำถามที่ซ้ำซ้อนกันหลายครั้งโดยไม่มีเหตุอันควร ✓ 3 กรณีที่พนักงานสอบสวนมีความจำเป็นต้องจัดให้ผู้เสียหายหรือพยานที่ เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปีชี้ตัวบุคคลใด ให้พนักงานสอบสวนจัดให้มี การชี้ตัวบุคคลในสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับเด็กและสามารถข้องกันมิให้ บุคคลซึ่งจะถูกชี้ตัวเห็นตัวเด็ก โดยให้มีนักจิตวิทยาหรือนักสังคม สงเคราะห์ บุคคลที่เด็กร้องขอ พนักงานอัยการร่วมอยู่ด้วยในการชี้ตัว บุคคลนั้น ✓ 4 ในกรณีการชี้ตัวผู้ต้องหาที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปีให้พนักงาน สอบสวนจัดให้มีการชี้ตัวในสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับเด็กและสามารถ ป้องกันมิให้ผู้ต้องหาที่เป็นเด็กนั้น เห็นตัวบุคคลที่จะทำการชี้ตัว ✓
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3