การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

บทคัดย่อภาษาไทย 4
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 5
ประกาศคุณูปการ 6
สารบัญ 7
สารบัญตาราง 11
สารบัญภาพประกอบ 12
บทที่ 1 บทนำ 13
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 13
1.2 วัตถุประสงค์ 17
1.3 คำถามวิจัย 17
1.4 สมมติฐานของการวิจัย 17
1.5 ขอบเขตของการวิจัย 18
1.5.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา 18
1.5.2 ขอบเขตด้านประเภทความผิด 19
1.5.3 ขอบเขตด้านประชากร 19
1.5.4 ขอบเขตด้านพื้นที่ 19
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 19
1.7 คำนิยามศัพท์เฉพาะ 19
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 21
2.1.แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ 21
2.1.1 ความหมายของผู้สูงอายุ 21
2.1.2 ลักษณะและธรรมชาติของผู้สูงอายุ 23
2.1.3 พัฒนาการต่าง ๆ ของวัยผู้สูงอายุ 26
2.1.4 สภาพ ปัญหา และความต้องการของผู้สูงอายุ 27
2.2 แนวคิดทฤษฎีและการบริหารจัดการกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 33
2.2.1 หลักการดำเนินคดีอาญา 37
2.2.2 หลักเกณฑ์วิธีพิจารณาความอาญา 37
2.2.3 แนวคิดทฤษฎีและกระบวนการในชั้นสอบสวน 42
2.3 ผู้สูงอายุกับการดำเนินคดีอาญา 48
2.3.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการกระทำความผิดของผู้สูงอายุ 48
2.3.2 ปัญหาการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุกับการบังคับใช้กฎหมาย 51
2.4 แนวคิดและทฤษฎีการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 52
2.4.1 หลักการว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 53
2.4.2 หลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในประเทศไทย 56
2.5 แนวคิดในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม 58
2.6 แนวคิดและทฤษฎีการลงโทษทางอาญา 63
2.7 แนวคิดการกำหนดโทษในทางอาญา 68
2.7.1 หลักความชอบด้วยกฎหมายของการลงโทษ 69
2.7.2 หลักความได้สัดส่วนในการลงโทษ 70
2.7.3 หลักการกำหนดโทษให้เหมาะสมกับตัวบุคคล 71
2.8 แนวคิดสำหรับปัญหาด้านสุขภาพผู้สูงอายุ 72
2.9 นโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาผู้สูงอายุ 74
2.9.1 นโยบายต่างประเทศ 74
2.9.1.1 แผนปฏิบัติการระหว่างประเทศมาดริดว่าด้วยเรื่องผู้สูงอายุ (The Madrid International Plan of Action on Ageing) 74
2.9.1.2 ประชาคมอาเซียน 2025 75
2.9.2 นโยบายภายในประเทศไทย 76
2.9.2.1 นโยบายรัฐบาล 76
2.9.2.2 แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 - 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 77
2.9.2.3 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) 78
2.9.2.4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564 ) 79
2.9.2.5 ข้อเสนอของสภาปฏิรูปประเทศ 80
2.9.2.6 มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 81
2.9.2.7 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) SDGs 81
2.10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 83
2.10.1 กฎหมายระหว่างประเทศ 83
2.10.1.1 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948 (Universal Declaration of Human Rights 1948) (United Nations,2019) 83
2.10.1.2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil, and Political Rights : ICCPR) 84
2.10.1.3 สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ (UN Principles for Older Persons 1991) 84
2.10.2 กฎหมายต่างประเทศ 85
2.10.2.1 ประเทศสหรัฐอเมริกา 85
2.10.2.2 ประเทศญี่ปุ่น 87
2.10.2.3 ประเทศเยอรมนี 89
2.10.3 กฎหมายภายในของประเทศไทย 92
2.10.3.1 สิทธิเสรีภาพผู้สูงอายุภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 92
2.10.3.2 สิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยในกระบวนการยุติธรรม 93
2.10.3.3 คำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ 419/2556 เรื่อง การอำนวยความยุติธรรมในคดีอาญา การทำสำนวนการสอบสวนและมาตรการควบคุม ตรวจสอบ เร่งรัดการสอบสวนคดีอาญา 98
2.10.3.4 พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 และ ฉบับที่ 3 พ.ศ.2560 105
2.11 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 106
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 108
3.1 การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) 108
3.2 การวิจัยภาคสนาม (Field Research) 110
3.3 เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ 112
3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 113
บทที่ 4 ผลการวิจัย 114
4.1 วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดของผู้สูงอายุ 115
4.1.1 กลุ่มแนวคิดทฤษฎีด้านร่างกายและสุขภาพของผู้สูงอายุ 115
4.1.2 ทฤษฎีด้านจิตวิทยา และจิตวิทยาสังคมของผู้สูงอายุ 116
4.1.3 แนวคิดทฤษฎีทางด้านกฎหมายของผู้สูงอายุ 118
4.2 กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในชั้นก่อนฟ้องคดีของประเทศไทย 119
4.3 สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาชั้นก่อนฟ้องคดีกับการปฏิบัติต่อผู้ต้องหาสูงอายุ 124
4.3.1 สิทธิของผู้ต้องหาในชั้นจับกุม 125
4.3.2 สิทธิของผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน 126
4.3.3 กระบวนการระหว่างการฝากขังผู้ต้องหา 126
4.3.4 หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพสำหรับผู้สูงอายุภายใต้นโยบายของประเทศไทยและตามหลักสากล 134
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 138
5.1 สรุปผล 138
5.2 อภิปรายผล 139
5.2.1 ปัญหาในด้านบริบทของสังคมกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของประชากรสูงอายุ 139
5.2.2 ปัญหาในด้านของมาตราบังคับใช้กฎหมายในกระบวนการยุติธรรมสำหรับผู้ต้องหาสูงอายุ 139
5.3 ข้อเสนอแนะ 141
ภาคผนวก 143
บรรณานุกรม 156
ประวัติย่อผู้วิจัย 162

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3