การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

9 กับสภาพบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อชี้ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการจัดทำร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น ดังกล่าว จึงมีการนำเอาหลักการ แนวคิดทฤษฎี รูปแบบ กฎหมายของต่างประเทศและ ภายในประเทศ มาเป็นแนวทาง และจัดทำร่างข้อบบัญญัติท้องถิ่นเพื่อการจัดการทรัพยากรประมง พื้นบ้านทางทะเลรองรับ 9 ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย (Theoretical framework) ปัญหาการจัดการ ทรัพยากรประมงพื้นบ้านทางทะเล แนวคิด ทฤษฎี แผน กฎหมาย และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร ประมงพื้นบ้าน ทฤษฎีโครงสร้าง -หน้าที่ แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอำนาจ แนวคิด การแบ่งปันผลประโยชน์ แนวคิดเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมของประชาชน แนวคิดเกี่ยวกับ ก ารจัดก ารความขัดแย้ ง แน วคิดความ สมานฉันท์ในสังคม แผนพัฒนาเกี่ยวกับ การจัดการประมง กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้อง กฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นในการวิเคราะห์ 1. สภาวการณ์และรูปแบบในการจัดการ ทรัพยากรประมงพื้นบ้านทางทะเลชายฝั่ง ในปัจจุบัน 2. กฎหมายและอำนาจหน้าที่ของรัฐในการ จัดการทรัพยากรประมงพื้นบ้านทางทะเล ในต่างประเทศ และประเทศไทย 3. นวัตกรรมกฎหมายและข้อบัญญัติท้องถิ่น ต้นแบบในการจัดการทรัพยากรประมง พื้นบ้านทางทะเล (ร่าง) ข้อบัญญัติท้องถิ่น เรื่อง การ จัดการทรัพยากรประมงพื้นบ้านทาง ทะเลอย่างยั่งยืน พ.ศ. …. 1) บทบัญญัติทั่วไป 2 ) คณะกรรมก ารบริหารจัดการ ทรัพยากรประมงพื้นบ้านทางทะเล 3) การอนุรักษ์ทรัพยากรประม ง พื้นบ้านทางทะเล 4) กองทุนบริการจัดการทรัพยากร ประมงพื้นบ้านทางทะเล 5) บทลงโทษ ก่อ ให้ เกิดประ โยชน์ ในก ารจัดก าร ทรัพยากรประมงพื้นบ้านทางทะเลเกิด จากกระบวนการมีส่วนร่วมของคน ในชุมชนหรือคนในพื้นที่เป็นผู้มีส่วนได้ เสียโดยตรงเข้ามาส่วนร่วมออกแบบ และตกลงร่วมกัน เป็นร่างข้อบัญญัติ ท้องถิ่นต้นแบบให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในการนำไปปรับใช้ให้ สอดคล้องกับสภาพบริบทของแต่ละ พื้นที่

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3