การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

110 2. ท่าก้มเงย (Trunk Bencing Fore and AFX) ประโยชน์ บริหารเอวหลัง การปฏิบัติ ดังนี้ ภาพ 2.1 ภาพ 2.2 ภาพ 2.3 ภาพที่ 2 ท่าก้มเงย ( Trunk Bencing Fore and AFX) ท่าเตรียม ยืนแยกเท้าประมาณ 1 ช่วงไหล่ มือทั้งสองข้างจับที่สะเอว (ภาพ 2.1) จังหวะที่ 1 ก้มตัวลงให้สุด ตามองตรง (ภาพ 2.2) จังหวะที่ 2 กลับไปอยู่ท่าเตรียม (ภาพ 2.1) จังหวะที่ 3 เอนตัวไปข้างหลังให้สุด (ภาพ 2.3) จังหวะที่ 4 กลับไปอยู่ท่าเตรียม (ภาพ 2.1) 3. ท่าก้มพลิกตัว (Trunk Twister) ประโยชน์ บริหารกล้ามเนื้อ หลัง การปฏิบัติ ดังนี้ ภาพ 3.1 ภาพ 3.2 ภาพ 3.3 ภาพ 3.4 ภาพที่ 3 ท่าก้มพลิก ตัว (Trunk Twister) ท่าเตรียม ยืนแยกเท้ากว้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ มือประสานกันที่ท้ายทอย (ภาพ 3.1) จังหวะที่ 1 ก้มตัวไปข้างหน้า 90 องศา มือยังประสานท้ายทอยเหมือนท่าเตรียม (ภาพ 3.2) จังหวะที่ 2 เอียงตัวและตีศอกซ้ายไปด้านขวา มือยังประสานท้ายทอย (ภาพ 3.3) จังหวะที่ 3 เอียงตัวและตีศอกขวาไปด้านซ้าย มือยังประสานท้ายทอย (ภาพ 3.4) จังหวะที่ 4 กลับมาอยู่ในท่าเตรียมนับเป็น 1 ยก (ภาพ 3.1)

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3