การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

112 ตารางที่ 1 (ต่อ) ประเด็น ปัญหาที่ เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการทรมานและ การกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 (ฉบับที่มีผลใช้ บังคับ) ร่างระเบียบกรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ ว่าด้วย หลักเกณฑ์มาตรการ คุ้มครอง เยียวยาสิทธิ ให้แก่ ครอบครัวเหยื่อของผู้ถูก บังคับให้สูญหาย พ.ศ. …. ที่มาของหลักการที่ เกี่ยวข้อง มาตรา 32 ให้หน่วยงานที่มี อานาจสืบสวนสอบสวนในคดี ความผิดตามพระราชบัญญัติ นี้จะต้องรายงานให้ผู้เสียหาย ทราบถึงผลความคืบหน้าของ คดี อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง แ ล ะ ให้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ห รื อ เจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการมีหน้าที่ และอานาจติดตามผลความ คืบหน้าของคดีและดาเนิน มาตรการต่าง ๆ เพื่อคุ้มครอง สวัสดิภาพและความปลอดภัย ชดเชย เยียวยา และฟื้นฟู ความเสียหายทางร่างกายและ จิตใจ ให้คาปรึกษาแนะนา ด้านกฎหมาย และสนับสนุน ช่วยเหลือด้านการดาเนินคดี โ ด ย ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม จ า ก ผู้เสียหาย ข้อ 8 ให้ผู้เสียหายในกรณีถูก บังคับให้สูญหายและบุคคลใด ๆที่ต้องพึ่งพาอาศัยบุคคลผู้ สูญหายดังกล่าวมีสิทธิได้รับ การเยียวยาเป็นพิเศษ ตาม พระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการทรมานและ การกระทาให้บุคคลสูญหาย พุทธศักราช ดังนี้ (ก) งดการชาระหนี้ของรัฐ เอาไว้ในระหว่างผู้สูญหาย ยั ง ค ง ห า ย ตั ว ไ ป ทั้ ง นี้ ค ร อบ ค รั ว ข อ งผู้ สูญ ห า ย จ ะ ต้ อ ง ยื่ น ค า ร้ อ ง ไ ป ยั ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อออก ใบรับรองเพื่อยืนยันสถานะ ของลูกหนี้ที่มีต่อเจ้าหนี้ซึ่ง เป็นหน่วยงานของรัฐเพื่อขอ พักการชาระหนี้จนกว่าจะ ทราบชะตากรรม (ข ) ง ด ก า ร ด า เนิ น ค ดี แ ก่ ผู้ถูกกระทาให้สูญหายจนกว่า จะทราบชะตากรรม ป ระม ว ล ก ฎ ห ม า ย อาญ าของป ระ เทศ โคลอมเบีย

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3