การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

116 ตารางที่ 1 (ต่อ) ประเด็น ปัญหาที่ เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการทรมานและ การกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 (ฉบับที่มีผลใช้ บังคับ) ร่างระเบียบกรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ ว่าด้วย หลักเกณฑ์มาตรการ คุ้มครอง เยียวยาสิทธิ ให้แก่ ครอบครัวเหยื่อของผู้ถูก บังคับให้สูญหาย พ.ศ. …. ที่มาของหลักการที่ เกี่ยวข้อง มาตรา 29 ผู้ใดพบเห็นหรือ ทราบการทรมาน การกระทา ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือ ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือการกระทาให้บุคคลสูญ หาย ให้แจ้งพนักงานฝ่าย ปกครอง พนักงานอัยการ พ นั ก ง า น ส อ บ ส ว น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ห รื อ คณ ะอนุกรรมการที่ ได้รับ มอบหมายโดยไม่ชักช้า ผู้แจ้งตามวรรคหนึ่ง ถ้าได้กระทาโดยสุจริต ไม่ต้อง รับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางวินัย แม้ภายหลัง ปรากฏว่า ไม่มีการกระทา ความผิดตามที่แจ้ง ข้อ 11 รัฐต้อ งป ระกัน ว่ า บุคคล ใดที่ ร้อ ง เรียน เรื่อ ง บุคคลหายสาบสูญ โดยถูก บั งคับ จะต้องมีสิท ธิที่จ ะ รายงานข้อเท็จจริงต่อเจ้า พ นั ก ง า น ที่ มี อ า น า จ ซึ่ ง จะต้องพิจารณาข้อร้องเรียน โดยพลันและอย่างเป็นกลาง แ ล ะ เ มื่ อ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ดาเนินการสอบสวนอย่าง ละเอียดโดยไม่ประวิงเวลา ต้องมีการดาเนิน ขั้นตอนที่ เหมาะสมเมื่อจาเป็น เพื่อ ประกันว่าผู้ฟ้องร้อง พยาน ญาติของบุคคลหายสาบสูญ และทนายของบุคคลดังกล่าว ตลอดจนบุคคลอื่น ๆที่มีส่วน ร่วมในการสอบสวนได้รับการ คุ้มครองจากการปฏิบัติที่ เลวร้ายหรือการข่มขู่ซึ่งเป็น ผ ล จ ากก า รฟ้ อ ง ร้อ งห รื อ พยานหลักฐานที่ได้ให้ไว้ จากพระราชบัญญัติ ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ท ร ม า น แ ล ะ ก า ร กระทาให้บุคคลสูญ หายพ.ศ.2565 จ า ก อ นุ สั ญ ญ า ระหว่างประเทศว่า ด้ ว ย ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง บุคคลทุกคนจากการ หายสาบสูญ โดยถูก บังคับ ข้อ 12

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3