การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

117 ตารางที่ 1 (ต่อ) ประเด็น ปัญหาที่ เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการทรมานและ การกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 (ฉบับที่มีผลใช้ บังคับ) ร่างระเบียบกรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ ว่าด้วย หลักเกณฑ์มาตรการ คุ้มครอง เยียวยาสิทธิ ให้แก่ ครอบครัวเหยื่อของผู้ถูก บังคับให้สูญหาย พ.ศ. …. ที่มาของหลักการที่ เกี่ยวข้อง เมื่อมีมูลเหตุอันมีเหตุผลที่จะ เชื่อได้ว่าบุคคลถูกกระทาให้ หายสาบสูญ โดยถูกบังคับ เจ้าหน้าที่ที่มีการอ้างถึงใน วรรคหนึ่ง ต้องดาเนินการ สอบสวน แม้ว่าจะไม่ได้มีการ ฟ้องร้องอย่างเป็นทางการก็ ตาม มาตรา 42 ผู้บังคับบัญชาผู้ใด ทราบว่าผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่ง อยู่ภายใต้การบังคับบัญชา ขอ งต น จ ะ ก ระท าห รื อ ได้ กระทาความผิดตามมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 ห รื อ ม า ต ร า 3 8 แ ล ะ ไ ม่ ด า เนิ น ก า ร ที่ จ า เป็ น แ ล ะ เหมาะสม เพื่อป้องกันหรือ ระงับการกระทาความผิด หรือไม่ดาเนินการหรือส่งเรื่อง ให้ดาเนินการสอบสวนและ ดาเนินคดีตามกฎหมาย ต้อง ระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่ กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น ข้อ 12 ให้ต้นสังกัดหน่วยงาน ข อ ง รั ฐ นั้ น ๆ รั บ ผิ ด ต่ อ ผู้ เสี ย ห าย ใน ผ ล แ ห่ งก า ร ละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนจะ ก ร ะท าห รื อ ได้ ก ร ะท า ใน ความผิดฐานบังคับบุคคลให้ สูญหาย เมื่อหน่วยงานของ รัฐตองรับผิดใชคาสินไหม ทดแทนแกผู้เสียหายเพื่อการ ละ เมิดขอ ง เจ้าห น าที่ ให หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียก ให เจ าห น าที่ ผู้ ท า ล ะ เมิ ด ช ด ใช ค า สิ น ไห ม ท ด แ ท น ดังกล่าวแกหน่วยงานของรัฐ ได้ จากพระราชบัญญัติ ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ท ร ม า น แ ล ะ ก า ร กระทาให้บุคคลสูญ หายพ.ศ.2565 จากพระราชบัญญัติ ค ว า ม รั บ ผิ ด ท า ง ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3