การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
123 คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการกระทาโดยมิชอบจากเจ้าหน้าที่บางคน และเป็นจุดเริ่มต้น ของการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชั้นตารวจของประเทศ อันจะเป็นผลดีอย่างยิ่งต่อสังคมไทย ซึ่ ง การที่ได้กาหนดกฎหมายฉบับนี้ขึ้นมาเนื่องจากผลของความพยายามของทุกภาคส่วนในสังคมไทย ทั้ง ภาคประชาสังคม วิชาการ และภาครัฐ โดยเฉพาะกระทรวงยุติธรรม และรัฐสภา โดยได้รับความ เห็นชอบโดยมติเอกฉันท์จากสภาผู้แทนราษฎร จนเป็นที่ชื่นชมขององค์การสหประชาชาติและองค์กร ระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่ติดตามว่าเมื่อใดประเทศไทยจะมีกฎหมาย เพื่อให้ประเทศไทยสามารถ ปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศในการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการอุ้มหายได้ 3. อานาจหน้าที่ในการเยียวยา ฟื้นฟู ครอบครัวของเหยื่อผู้ถูกบังคับให้สูญหาย หน่วยงานผู้ที่มีอานาจหน้าที่ในการเยียวยา ฟื้นฟู ครอบครัวของเหยื่อผู้ถูกบังคับให้สูญหาย ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 คือ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะเป็นผู้มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการเสนอ แนวทาง กาหนดมาตรการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการตรวจสอบ ติดตามความคืบหน้า หรือกาหนด มาตรการการคุ้มครองสิทธิและเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นตามที่กฎหมายกาหนดไว้แล้วก็ตาม ท้ายที่สุดแล้วมาตรการ หรือแนวทางต่าง ๆที่กรมคุ้มครองสิทธิเสนอหรือมีการกาหนดขึ้นมาเพื่อที่จะ เยียวยาหรือฟื้นฟูผู้เสียหาย ขึ้นอยู่กับอานาจในการตัดสินใจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหายตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ในการที่จะกาหนดว่ามาตรการใดเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด บังคับได้หรือไม่ อย่างไร แสดงให้เห็นถึงการเปิดช่องของกฎหมายให้คณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหายตามพระราชบัญญัตินี้เข้าถึงการที่จะ บังคับใช้กฎหมายได้มากกว่าอานาจหน้าที่ของกรมคุ้มครองสิทธิ เพราะฉะนั้นแล้วกฎหมายใหม่ฉบับนี้ ออกกฎหมายมาเพียงเพื่อให้มีการกาหนดขึ้นมาตามข้อเรียกร้องของประชาชนกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในสังคมไทย ไม่ได้ให้อานาจหน้าที่แก่กรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการกาหนดมาตรการการคุ้มครอง สิทธิและเยียวยาความเสียหายได้อย่างเต็มที่ เพราะสุดท้ายขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดปัญหาการ บังคับใช้กฎหมายที่ไม่ชัดเจนตามที่กาหนดไว้ในสังคมไทย 5.3 ข้อเสนอแนะ จากข้อค้นพบการวิจัยและข้อกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิ เยียวยาครอบครัวเหยื่อของผู้ถูกบังคับสูญหาย นาไปสู่การจัดทาร่างระเบียบกรมคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพ ว่าด้วยหลักเกณฑ์มาตรการการคุ้มครอง การเยียวยาสิทธิ ให้แก่ครอบครัวเหยื่อของผู้ถูก บังคับให้สูญหาย พ.ศ....ประกอบด้วย บทบัญญัติ จานวน 12 ข้อ แบ่งเป็น 3 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3