การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

3 พรรครัฐบาลคือพรรคเสรีมนังคศิลา แต่ต่อมานายเตียงและพวกถูกจับตัวไปฆ่าที่กรุงเทพฯและนาศพ ไปเผาเพื่ออาพรางคดีในวันที่ 12 ธันวาคม ปี 2495 อีกเจ็ดปีต่อมาจึงได้มีการสอบสวนและฟ้องร้องต่อ ศาล และต่อสู้กันถึงศาลอุทธรณ์ ซึ่งจาเลยได้พ้นข้อหาไป (กษิดิศ อนันทนาธร, 2561) ปี พ.ศ. 2497 กรณีนายหะยีสุหลง โต๊ะมีนา สูญหายวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2497 เป็น โต๊ะอิหม่ามชื่อดังในภาคใต้ผู้เคยยื่นข้อเสนอต่อรัฐบาล 7 ข้อให้ปรับปรุงการทางานให้สอดคล้องกับวิถี ชีวิตกับคนในพื้นที่สูญหายพร้อมผู้ติดตามระหว่างเดินทางไปกองบัญชาการตารวจสันติบาลที่จังหวัด สงขลาตามคาเชิญภายหลังมีการทาคดีและพบว่าตารวจเป็นคนฆ่าหะยีสุหลงและผู้ติดตามบริเวณ ทะเลสาบสงขลาก่อนจะคว้านท้องนาไปผูกกับแท่งปูนและทิ้งในทะเลสาบบริเวณเกาะหนูเกาะแมว (ธันยพร บัวทอง ออนไลน์, 2563) ปี พ.ศ. 2510 มีการปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยที่เกิดจากการกล่าวหาว่า จังหวัดพัทลุงเป็นพื้นที่ของพรรคคอมมิวนิสต์และทาให้มีผู้สูญหายกว่า 3,000 คน ในปัจจุบันยังคงมี การพูดถึงเรื่องของการที่ประชาชนหลายคนถูกลักพาตัวถูกทรมานและถูกฆ่าโดยการเผาในถังแดง เป็นการใช้วิธีกดขี่ข่มเหง กดจับประชาชนเหล่านั้นลงไปใส่ถังน้ามันและราดเชื้อเพลิงเผาในขณะที่ ประชาชนเหล่านั้นยังมีชีวิตอยู่หรือเสียชีวิตไปแล้วเพื่อทาให้การพิสูจน์หลักฐานพบเป็นไปได้น้อยมาก หรือไม่พบเจอพยานหลักฐานอะไรเลย (ปริญญา นวลเปียน., 2561) ปี พ.ศ. 2517 เรื่องของกบฏชาวนาในภาคเหนือมีการรวมตัวกันของกลุ่มชาวนาในการที่จะให้มี การปฏิรูปที่ดินให้มีกฎหมายเพื่อที่จะคุ้มครองชาวนา ซึ่งช่วงนั้นก็ทาให้มีผู้ถูกสังหาร 33 คน บาดเจ็บ สาหัส 8 คน และมีผู้หายสาบสูญ 5 คน (อังคณา นีละไพจิตร, 2564) ปี พ.ศ. 2519 ช่วงของเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ จากเหตุการณ์ความรุนแรงในสังคมไทยที่เป็นความ ขัดแย้งทางการเมืองครั้งนี้ทาให้มีจานวนผู้เสียชีวิตมากถึง 40 ราย มีผู้ถูกจับกุมในข้อหาคอมมิวนิสต์ กว่า 3,000 คนและยังมีผู้สูญหายอีกจานวนมาก ความโหดร้ายในเหตุการณ์น (นางสาวเปรมยุดา ธง สินวาที, 2562) ปี พ.ศ. 2534 กรณีคุณทนง โพธิ์อ่าน เป็นผู้นาแรงงานแถวหน้าถูกอุ้มฆ่าหายตัวไปเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2534 เป็นประธานสภาองค์การลูกจ้างสภาแรงงานแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นองค์กร แรงงานที่มีสมาชิกมากที่สุดและเป็นกรรมการสมาพันธ์แรงงานระหว่างประเทศภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (ICFTU) (สุพิชชา ชุมนุมศิริวัฒน์ และชย์อาณิคม์ ชิตวิเศษ, 2564) ปี พ.ศ. 2535 ช่วงของเหตุการณ์ ‘พฤษภาทมิฬ’ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ.2535 เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนออกมาเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน โดยการประท้วงรัฐบาลใน ประวัติศาสตร์เกี่ยวข้องกับทางด้านการเมือง เป็นการแสดงออกถึงการไม่ยอมรับเกี่ยวกับเรื่องการสืบ ทอดอานาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ในสมัยที่มี พล.อ.สุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี นาไปสู่เหตุการณ์การต่อสู้กันระหว่างเจ้าหน้าที่ตารวจ ทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม ทา

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3