การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

26 สนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนโดยกาหนดกรอบตัวแปรสาหรับการพิจารณากาหนดนโยบายของประเทศ และกฎระเบียบในการกากับดูแลและแจกแจงวาระสาหรับการหารือและความร่วมมือระหว่างรัฐใน ส่วนที่เกี่ยวกับประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้มากที่สุดซึ่งรวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลความร่วมมือใน การปราบปรามการย้ายถิ่นผิดกฎหมาย การลักลอบขนแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ การให้ คาแนะนาแก่ผู้ย้ายถิ่นก่อนการเดินทาง การส่งตัวกลับและการคืนสู่สังคมในประเทศบ้านเกิด เป็นต้น เป็นอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติและสมาชิกในครอบครัว (CMW) ที่ประเทศ ไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคีในปัจจุบัน (คณะกรรมการอานวยการระหว่างประเทศเพื่อรณรงค์การให้ สัตยาบันอนุสัญญาสิทธิผู้ย้ายถิ่น, 2561) จากที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้นสรุปได้ว่าตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ที่ถือเป็นสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศภายใต้สหประชาชาติทั้ง 9 ฉบับนั้น ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีตราสารระหว่างประเทศหลักเหล่านี้แล้วทั้งสิ้น 7 ฉบับ โดยไทยยังไม่ได้เข้า เป็นภาคี 2 ฉบับคือ อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญ โดยถูกบังคับและอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและสมาชิกใน ครอบครัว นอกจากนี้ประเทศไทยยังได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาฉบับต่างๆ ได้แก่ พิธี สารเลือกรับของอนุสัญญา CEDAW ว่าด้วยการรับข้อร้องเรียนและอนุสัญญา CRC 3 ฉบับคือ พิธีสาร เลือกรับเรื่องการขายเด็กการค้าประเวณีและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก พิธีสารเลือกรับ เรื่องความ เกี่ยวพันของเด็กในความขัดแย้งกันด้วยอาวุธ พิธีสารเลือกรับเรื่องกระบวนการติดต่อร้องเรียน ดังนั้น จากแนวคิดเกี่ยวกับหลักสิทธิมนุษยชนที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้นสรุปได้ว่า การมีมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิเยียวยาครอบครัวของเหยื่อผู้ถูกบังคับสูญหายเป็น หลักการสาคัญในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพที่ทุกคนควรได้รับอย่างเท่าเทียมกัน เช่นเดียวกับหลัก ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยได้เข้าเป็นรัฐภาคีเพื่อจุดมุ่งหมายในการเคารพสิทธิ เสรีภาพซึ่งกันและกันสาหรับการดารงชีพนั้นๆภายใต้การรับรองและคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญกฎหมาย สูงสุดของประเทศไทยที่ได้กาหนดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้ทุกคนตระหนักใน ความสาคัญของสิทธิมนุษยชนและเป็นแนวทางปฏิบัติต่อกันในฐานะเพื่อนมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน โดยตระหนักว่าทุกคนมีสิทธิในชีวิตมีสิทธิในการยอมรับนับถือและมีสิทธิในการดารงชีวิตและพัฒนา ตนเองตามแนวทางที่ถูกต้อง 2.3.4 หลักการพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนหรือ Human Rights เป็นสิทธิของมนุษย์ทุกคนบนโลกที่ติดตัวมาตั้งแต่ เกิดและเป็นสากลไม่มีการแบ่งแยกใดๆทั้งสิ้น มีอิสระเสรีภาพในการดารงค์ชีวิตอย่างปลอดภัยไม่ว่าจะ มีเชื้อชาติ อายุ สีผิว แหล่งกาเนิด เพศ ฐานะ การแสดงความคิดเห็น ซึ่งเป็นสิทธิของบุคคลทุกคนที่ติด ตัวมาตั้งแต่เกิดตามธรรมชาติ ไม่มีใครมาละเมิดสิทธินั้นได้ โดยการอาศัยปัจจัยสี่ในการดารงค์ชีวิตต

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3