การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

55 ความสาเร็จในการยึดอานาจ การแทรกแซงทางการเมืองและการสืบทอดอานาจจาก ทหารสู่ทหารสร้างความมั่นใจให้เหล่านายพล ส่งผลให้ในปี ค.ศ. 1982 อาร์เจนตินาส่งกองกาลังเข้า ยึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ที่เป็นหนึ่งในอาณานิคมของอังกฤษถือเป็นการประกาศสงครามกับสหราช อาณาจักรอย่างเป็นทางการทาให้นายกรัฐมนตรีหญิงแห่งอังกฤษ มาร์กาเร็ต แทตเชอร์ จัดตั้ง คณะรัฐมนตรีสงครามเพื่อวางแผนโต้ตอบการกระทาของอาร์เจนตินาสงครามหมู่เกาะฟอร์กแลนด์กิน เวลาราว 3 เดือน ในที่สุดชัยชนะเป็นของสหราชอาณาจักร มาร์กาเร็ต แทตเชอร์ ถูกเรียกว่า ‘สตรี เหล็กแห่งอังกฤษ’ ความพ่ายแพ้ครั้งนี้ทาให้ทหารอาร์เจนตินาเสียชีวิตไป 649 คนและกองทัพได้ ทาลายแสนยานุภาพทางทหารและความน่าเชื่อถือของตัวเองทิ้งอย่างไม่มีชิ้นดี นายพลผู้ก่อสงคราม โดนคดีเรื่องสิทธิมนุษยชนพ่วงการปฏิบัติงานล้มเหลวแถมประเทศผู้แพ้ยังต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม แก่อังกฤษอีกหลังจากอับอายครั้งใหญ่หลังทาสงครามแล้วแพ้ยับเยิน รัฐบาลทหารเสื่อมอานาจจนล่ม สลายไปเมื่อปี 1983 พร้อมกับการพิสูจน์ให้ประชาชนเห็นแล้วว่าทหารไม่ใช่ผู้บริหารประเทศที่ดี ต่อมาในปี 1985 เหล่านายพลที่ทารัฐประหารรวมถึงอดีตประธานาธิบดีฮอร์เก ราฟา เอล วิเดลาถูกนาตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาคดีน้อยใหญ่ เช่น ฆาตกรรม ทาร้ายร่างกาย ละเมิดสิทธิ มนุษยชน ลอบสังหาร กักขังหน่วงเหนี่ยว และลักพาตัว ฮอร์เก ราฟาเอล วิเดลาถูกตัดสินจาคุกตลอด ชีวิต พอติดคุกได้ 5 ปี ก็ได้รับการอภัยโทษในสมัยประธานาธิบดี คาร์ลอส ซาอูล มีนิม (Carlos Saul Menem) แต่ความดีใจอยู่ได้ไม่นานเท่าไหร่นัก ศาลฎีกายกเลิกการอภัยโทษดังกล่าวนาข้อหาเก่า ๆ ของเขากลับมาพิจารณาใหม่อีกครั้ง เพิ่มข้อหาใหม่ชวนขนลุกอย่างการขโมยเด็กทารกที่เพิ่งมีหลักฐาน มัดตัวเขาแน่นหนาทาให้เขาได้โทษเพิ่มอีก 50 ปี โดยฮอร์เก ราฟาเอล วิเดลาจะต้องถูกกักบริเวณอยู่ ในบ้านนานกว่า 10 ปี และระหว่างนั้นต้องหมั่นมารายงานตัว ฟังการพิจารณาคดีเป็นประจาจนแก่ หลังคดียืดเยื้ออยู่นานในที่สุดเขาถูกตัดสินจาคุกตลอดชีวิต เมื่อปี 2012 น่าเศร้าที่เขาติดคุกได้ไม่นาน เท่าไหร่ก็เสียชีวิตในวันที่ 17 พฤษภาคม 2013 จากไปด้วยวัย 87 ปี ทางเรือนจาและโฆษกรัฐบาล ไม่ได้รายงานถึงสาเหตุการเสียชีวิตว่าเกิดจากอะไร ถือได้ว่าเป็นการปิดฉากตานานนายพลทา รัฐประหารที่มีชีวิตบั้นปลายไปแบบเงียบงันเหลือทิ้งไว้เพียงบทเรียนราคาแพงให้ประเทศอาร์เจนตินา (WWW.Thepeople, 2563) ต่อมาภายหลัง ประเทศอาร์เจนตินาได้มีการกลับคืนสู่การปกครองโดยพลเรือนในปี 1983 รัฐบาลนาโดย ราอุล อัลฟอนซิน (1983-1989) สามารถยกเลิกการนิรโทษกรรมตัวเองของ ทหาร ริเริ่มกระบวนการยุติธรรมต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้นาเผด็จการทหาร 9 รายและจัดตั้ง คณะกรรมการสืบหาข้อเท็จจริงการอุ้มหายได้เพียงไม่กี่วันหลังสาบานตนรับตาแหน่งในปี 1983 ซึ่ง คณะกรรมการดังกล่าวได้ตีพิมพ์รายงานในปี 1984และเริ่มการไต่สวนผู้นาคณะรัฐประหาร และกลุ่ม ติดอาวุธได้ในปี 1985 และมีการเรียกร้องให้ ช่วยเหลือทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ศพผู้ถูก บังคับสูญหาย แต่ด้วยความที่ในตอนต้นรัฐบาลพลเรือนเลือกเอาผิดเพียงเฉพาะหัวหน้าคณะ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3