การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

58 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะใน รัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่นบุคคลย่อมมีสิทธิและ เสรีภาพที่จะทาการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญตราบเท่าที่การใช้สิทธิหรือเสรีภาพ เช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม อันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น สิทธิหรือเสรีภาพใดที่รัฐธรรมนูญให้ เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติหรือให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติแม้ยังไม่มีการ ตรากฎหมายนั้นขึ้นใช้บังคับบุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญ บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญสามารถยก บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลซึ่งได้รับความ เสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพหรือจากการกระทาความผิดอาญาของบุคคลอื่น ย่อมมี สิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ ตามมาตรา 25 นอกจากนี้ การคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยรัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้และผู้ด้อยโอกาสให้สามารถ ดารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพและคุ้มครองป้องกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่าง ไม่เป็นธรรม รวมตลอดทั้งให้การบาบัด ฟื้นฟูและเยียวยาแก่ผู้ถูกกระทาการดังกล่าวด้วย ตามมาตรา 71 วรรค 3 (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย, 2560) ดังนั้น ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติ ถึงการช่วยเหลือเยียวยาไว้โดยให้บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพหรือ จากการกระทาความผิดอาญาของบุคคลอื่นย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้รัฐพึงให้ความช่วยเหลือบุคคลทุกคน ให้สามารถดารงชีวิตได้อย่างมี คุณภาพและคุ้มครองป้องกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม ตลอด ทั้งให้การบาบัด ฟื้นฟูและเยียวยาผู้ถูกกระทาการนั้นๆตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็น กฎหมายสูงสุดสามารถนามาปรับใช้กับกรณีในการคุ้มครองสิทธิเยียวยาครอบครัวของเหยื่อผู้สูญหาย ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้ตามหลักสิทธิและเสรีภาพที่จะได้รับความคุ้มครองของปวงชนชาวไทยทุก คนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2.9.2 พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการ กระทาความผิดอาญาของผู้อื่นโดยตนไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทาผิดมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ จากรัฐรวมทั้งจาเลยในคดีอาญาที่ถูกคุมขังในระหว่างการพิจารณาและมีคาพิพากษาถึงที่สุดว่าไม่ได้ เป็นผู้กระทาความผิดมีสิทธิได้รับค่าทดแทนจึงมีการตราพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่า

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3