การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

59 ทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ซึ่งบัญญัติให้ผู้เสียหายในคดีอาญาสาหรับ ความผิดบางประเภทมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนและให้จาเลยในคดีอาญามีสิทธิได้รับค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายโดยมีสาระสาคัญดังนี้ "ผู้เสียหาย" หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิตหรือร่างกายหรือ จิตใจเนื่องจากการกระทาความผิดอาญาของผู้อื่นโดยตนมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทาความผิด นั้น "ค่าตอบแทน" หมายความว่า เงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับ เพื่อตอบแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากหรือเนื่องจากมีการกระทาความผิดอาญาของผู้อื่น "ค่าทดแทน" หมายความว่า เงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่จาเลยมีสิทธิได้รับ เนื่องจากการตกเป็นจาเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดีและปร ากฏว่าคา พิพากษาถึงที่สุดในคดีนั้นฟังเป็นยุติว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทาความผิดหรือการกระทาของจาเลยไม่ เป็นความผิดตามที่กาหนดไว้ในมาตรา 3 ให้จัดตั้งสานักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจาเลยในคดีอาญาขึ้นใน กระทรวงยุติธรรม และให้มีอานาจหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ตามพระราชบัญญัตินี้ รับคาขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทนหรือค่าใช้จ่ายพร้อมทั้งทาความเห็นเสนอ ต่อคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ ประสานงานกับหน่วยงานราชการอื่นหรือบุคคลใดๆเพื่อขอ ทราบข้อเท็จจริงหรือความเห็นเกี่ยวกับการขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทนหรือค่าใช้จ่าย เก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจ่ายค่าตอบแทน ค่าทดแทนหรือค่าใช้จ่ายรวมทั้งกระทากิจการตามที่ รัฐมนตรีคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการมอบหมายตามมาตรา 15 ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่จาเป็นแก่การรักษาพยาบาลรวมทั้งค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางร่างกายและจิตใจ ค่าตอบแทนในกรณีที่ผู้เสียหายถึงแก่ความตายจานวนไม่เกินที่กาหนดใน กฎกระทรวง ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ในระหว่างที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ ค่าตอบแทนความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร คณะกรรมการจะกาหนดให้ผู้เสียหาย ได้ค่าตอบแทนเพียงใดหรือไม่ก็ได้โดยคานึงถึงพฤติการณ์และความร้ายแรงของการกระทาความผิด และสภาพความเสียหายที่ผู้เสียหายได้รับรวมทั้งโอกาสที่ผู้เสียหายจะได้รับการบรรเทาความเสียหาย โดยทางอื่นด้วยตามมาตรา 18 (พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา, 2544) ดังนั้น ปัญหาการขาดมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิเยียวยาครอบครัว เหยื่อของผู้ถูกบังคับสูญหายนั้นควรที่จะอยู่ภายใต้การกากับดูแลเยียวยาครอบครัวของเหยื่อตาม พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ตามที่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติให้บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการกระทาความผิด

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3