การศึกษาอิสระ - วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
84 ค่าตอบแทนความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร อย่างไรก็ตามคณะกรรมการฯ จะ กาหนดให้ผู้เสียหายได้รับค่าตอบแทนเพียงใดหรือไม่ก็ได้ โดยคานึงถึงพฤติการณ์และความร้ายแรง ของการกระทาความผิด และสภาพความเสียหายที่ผู้เสียหายได้รับ รวมทั้งโอกาสที่ผู้เสียหายจะได้รับ การบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่นด้วย ผู้วิจัยวิเคราะห์แล้วเห็นได้ว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม ต่างให้ความสาคัญในการให้ความช่วยเหลือทางด้านกฎหมายแก่ประชาชน หรือผู้เสียหายมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในแต่ละจังหวัดที่คอยให้ความรู้เกี่ยวกับคดีความ หรือช่อง ทางการยื่นคาร้องขอค่าเยียวยาความเสียหายที่เป็นการคุ้มค รองสิทธิทางด้านกฎหมายตาม พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ที่มีการเยียวยาหรือจ่ายค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรือค่าใช้จ่ายเบื้องต้น แต่อย่างไรก็ตามมีการเยียวยา ความเสียหายเป็นตัวเงินแต่แค่บางส่วนหรือบางคดีเท่านั้นที่มีพยานหลักฐานชัดเจนในการถูกกระทา ความผิดหรือมีสิทธิได้รับการเยียวยา สืบเนื่องจากเป็นดุลพินิจของคณะกรรมการฯ ในการพิจารณาผู้ อยู่ในเกณฑ์ที่ผู้ยื่นคาขอจะมีสิทธิได้รับค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายฯ หากเป็นกรณีที่ศาลมีคาพิพากษาถึง ที่สุดในคดียกฟ้องเพราะเหตุพนักงานอัยการโจทก์ไม่มีพยานหลักฐานเพียงพอที่นาสืบพิสูจน์ว่าจาเลย เป็นผู้กระทาความผิด ข้อเท็จจริงจึงยังไม่เป็นที่ยุติว่า ผู้ยื่นคาขอมิได้เป็นผู้กระทาผิดตามฟ้อง กรณีจะ ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ผู้ยื่นคาขอจะมีสิทธิได้รับค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา 4.1.1.3 การคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายตามพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 การคุ้มครองสิทธิครอบครัวเหยื่อของผู้ถูกบังคับสูญหายตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มีหลักกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง คือ ในคดีความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหาย จัดให้มีการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในเรื่อง การดาเนินการสืบสวนโดยจะต้องมีการดาเนินการสืบสวนจนกว่าจะพบบุคคลซึ่งถูกกระทาให้สูญหาย หรือปรากฏหลักฐานอันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้น ถึงแก่ความตายและทราบรายละเอียดของการกระทา ความผิดและรู้ตัวผู้กระทาความผิด กรณีที่ผู้เสียหายไม่อยู่ในฐานะที่จะร้องทุกข์หรือกล่าวโทษด้วย ตนเองได้ หรือความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหาย มีการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายโดยการจัดให้สามี ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยาซึ่งมิได้จดทะเบียนสมรส ผู้อุปการะ และผู้อยู่ ในอุปการะของผู้ถูกกระทาให้สูญหายตามพระราชบัญญัตินี้เป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาได้ นอกจากนี้ ยังมีมาตรการคุ้มครองสิทธิแก่ผู้เสียหายตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ในรูปแบบของการจัด ให้มีอุปกรณ์อานวยความสะดวก เป็นการแสดงออกถึงความโปร่งใสตามขั้นตอนวิธีการของ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3